คัมภีร์โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ ปริเฉทที่ ๔

แบ่งปันในสังคมออนไลน์

โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ

ปริเฉทที่ ๔ ความไมประมาทในโพธิจิต

17-Atisha

โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ ปริเฉทที่ ๔ ความไมประมาทในโพธิจิต
ในปริเฉทที่ ๔ ท่านศานติเทวะอธิบายการยึดถือเอาโพธิจิตให้มั่นคง
โดยไม่ประมาทและตั้งมั่นอยู่บนวิถีทางโพธิสัตว์ไม่คิดหวนคืนกลับ

ต้นฉบับจากโครงการ DSBC เสียงจากโครงการ Bodhisvara
แปลโดย พระมหาวิชาญ กำเหนิดกลับ ปริวรรตเป็นไทยโดยโปรแกรมไทย-สันสคริปท์

[คลิกเพื่อเปิดเสียง]

 

ปริวรรตเป็นไทยคงรูป

ศานฺติเทววิรจิตะ โพธิจรฺยาวตาระฯ
โพธิจิตฺตาปฺรมาโท นาม จตุรฺถะ ปริจฺเฉทะฯ

 

เอวํ คฤหีตฺวา สุทฤฒํ โพธิจิตฺตํ ชินาตฺมชะฯ
ศิกฺษานติกฺรเม ยตฺนํ กุรฺยานฺนิตฺยมตนฺทฺริตะ
๚๑๚
สหสา ยตฺสมารพฺธํ สมฺยคฺ ยทวิจาริตมฺฯ
ตตฺร กุรฺยานฺน เวตฺเยวํ ปฺรติชฺญายาปิ ยุชฺยเต
๚๒๚
วิจาริตํ ตุ ยทฺพุทฺไธรฺมหาปฺราชฺไญศฺจ ตตฺสุไตะฯ
มยาปิ จ ยถาศกฺติ ตตฺร กิํ ปริลมฺพฺยเต
๚๓๚
ยทิ ไจวํ ปฺรติชฺญาย สาธเยยํ น กรฺมณาฯ
เอตํา สรฺวํา วิสํวาทฺย กา คติรฺเม ภวิษฺยติ
๚๔๚
มนสา จินฺตยิตฺวาปิ โย น ททฺยาตฺปุนรฺนระฯ
ส เปฺรโต ภวตีตฺยุกฺตมลฺปมาเตฺร’ปิ วสฺตุนิ
๚๕๚
กิมุตานุตฺตรํ เสาขฺยมุจฺไจรุทฺธุษฺย ภาวตะฯ
ชคตฺสรฺวํ วิสํวาทฺย กา คติรฺเม ภวิษฺยติ
๚๖๚
เวตฺติ สรฺวชฺญ เอไวตามจินฺตฺยํา กรฺมโณ คติมฺฯ
ยทฺโพธิจิตฺตตฺยาเค’ปิ โมจยตฺเยวํ ตํา นรานฺ
๚๗๚
โพธิสตฺตฺวสฺย เตไนวํ สรฺวาปตฺติรฺครียสีฯ
ยสฺมาทาปทฺยมาโน’เสา สรฺวสตฺตฺวารฺถหานิกฤตฺ
๚๘๚
โย’ปฺยนฺยะ กฺษณมปฺยสฺย ปุณฺยวิฆฺนํ กริษฺยติฯ
ตสฺย ทุรฺคติปรฺยนฺโต นาสฺติ สตฺตฺวารฺถฆาตินะ
๚๙๚
เอกสฺยาปิ หิ สตฺตฺวสฺย หิตํ หตฺวา หโต ภเวตฺฯ
อเศษากาศปรฺยนฺตวาสินํา กิมุ เทหินามฺ
๚๑๐๚
เอวมาปตฺติพลโต โพธิจิตฺตพเลน จฯ
โทลายมานะ สํสาเร ภูมิปฺราปฺเตา จิรายเต
๚๑๑๚
ตสฺมาทฺยถาปฺรติชฺญาตํ สาธนียํ มยาทราตฺฯ
นาทฺย เจตฺกฺริยเต ยตฺนสฺตเลนาสฺมิ ตลํ คตะ
๚๑๒๚
อปฺรเมยา คตา พุทฺธาะ สรฺวสตฺตฺวคเวษกาะฯ
ไนษามหํ สฺวโทเษณ จิกิตฺสาโคจรํ คตะ
๚๑๓๚
อทฺยาปิ เจตฺตไถว สฺยํา ยไถวาหํ ปุนะ ปุนะฯ
ทุรฺคติวฺยาธิมรณจฺเฉทเภทาทฺยวาปฺนุยามฺ
๚๑๔๚
กทา ตถาคโตตฺปาทํ ศฺรทฺธํา มานุษฺยเมว จฯ
กุศลาภฺยาสโยคฺยตฺวเมวํ ลปฺสฺเย’ติทุรฺลภมฺ
๚๑๕๚
อาโรคฺยํ ทิวสํ เจทํ สภกฺตํ นิรุปทฺรวมฺฯ
อายุะกฺษณํ วิสํวาทิ กาโยปาจิตโกปมะ
๚๑๖๚
น หีทฤไศรฺมจฺจริไตรฺมานุษฺยํ ลภฺยเต ปุนะฯ
อลภฺยมาเน มานุษฺเย ปาปเมว กุตะ ศุภมฺ
๚๑๗๚
ยทา กุศลโยคฺโย’ปิ กุศลํ น กโรมฺยหมฺฯ
อปายทุะไขะ สํมูฒะ กิํ กริษฺยามฺยหํ ตทา
๚๑๘๚
อกุรฺวตศฺจ กุศลํ ปาปํ จาปฺยุปจินฺวตะฯ
หตะ สุคติศพฺโท’ปิ กลฺปโกฏิศไตรปิ
๚๑๙๚
อต เอวาห ภควานฺ-มานุษฺยมติทุรฺลภมฺฯ
มหารฺณวยุคจฺฉิทฺรกูรฺมคฺรีวารฺปโณปมมฺ
๚๒๐๚
เอกกฺษณกฤตาตฺ ปาปาทวีเจา กลฺปมาสฺยเตฯ
อนาทิกาโลปจิตาตฺ ปาปาตฺ กา สุคเตา กถา
๚๒๑๚
น จ ตนฺมาตฺรเมวาเสา เวทยิตฺวา วิมุจฺยเตฯ
ตสฺมาตฺตทฺเวทยนฺเนว ปาปมนฺยตฺ ปฺรสูยเต
๚๒๒๚
นาตะ ปรา วญฺจนาสฺติ น จ โมโห’สฺตฺยตะ ประฯ
ยทีทฤศํ กฺษณํ ปฺราปฺย นาภฺยสฺตํ กุศลํ มยา
๚๒๓๚
ยทิ ไจวํ วิมฤษฺยามิ ปุนะ สีทามิ โมหิตะฯ
โศจิษฺยามิ จิรํ ภูโย ยมทูไตะ ปฺรโจทิตะ
๚๒๔๚
จิรํ ธกฺษฺยติ เม กายํ นารกาคฺนิะ สุทุะสหะฯ
ปศฺจาตฺตาปานลศฺจิตฺตํ จิรํ ธกฺษฺยตฺยศิกฺษิตมฺ
๚๒๕๚
กถํจิทปิ สํปฺราปฺโต หิตภูมิํ สุทุรฺลภามฺฯ
ชานนฺนปิ จ นีเย’หํ ตาเนว นรกานฺ ปุนะ
๚๒๖๚
อตฺร เม เจตนา นาสฺติ มนฺไตฺรริว วิโมหิตะฯ
น ชาเน เกน มุหฺยามิ โก’ตฺรานฺตรฺมม ติษฺฐติ
๚๒๗๚
หสฺตปาทาทิรหิตาสฺตฤษฺณาทฺเวษาทิศตฺรวะฯ
น ศูรา น จ เต ปฺราชฺญาะ กถํ ทาสีกฤโต’สฺมิ ไตะ
๚๒๘๚
มจฺจิตฺตาวสฺถิตา เอว ฆฺนนฺติ มาเมว สุสฺถิตาะฯ
ตตฺราปฺยหํ น กุปฺยามิ ธิคสฺถานสหิษฺณุตามฺ
๚๒๙๚
สรฺเว เทวา มนุษฺยาศฺจ ยทิ สฺยุรฺมม ศตฺรวะฯ
เต’ปิ นาวีจิกํ วหฺนิํ สมุทานยิตุํ กฺษมาะ
๚๓๐๚
เมโรรปิ ยทาสงฺคานฺน ภสฺมาปฺยุปลภฺยเตฯ
กฺษณาตฺ กฺษิปนฺติ มํา ตตฺร พลินะ เกฺลศศตฺรวะ
๚๓๑๚
น หิ สรฺวานฺยศตฺรูณํา ทีรฺฆมายุรปีทฤศมฺฯ
อนาทฺยนฺตํ มหาทีรฺฆํ ยนฺมม เกฺลศไวริณามฺ
๚๓๒๚
สรฺเว หิตาย กลฺปนฺเต อานุกูลฺเยน เสวิตาะฯ
เสวฺยมานาสฺตฺวมี เกฺลศาะ สุตรํา ทุะขการกาะ
๚๓๓๚
อิติ สํตตทีรฺฆไวริษุ วฺยสเนาฆปฺรสไวกเหตุษุฯ
หฤทเย นิวสตฺสุ นิรฺภยํ มม สํสารรติะ กถํ ภเวตฺ
๚๓๔๚
ภวจารกปาลกา อิเม นรกาทิษฺวปิ วธฺยฆาตกาะฯ
มติเวศฺมนิ โลภปญฺชเร ยทิ ติษฺฐนฺติ กุตะ สุขํ มม
๚๓๕๚
ตสฺมานฺน ตาวทหมตฺร ธุรํ กฺษิปามิ
ยาวนฺน ศตฺรว อิเม นิหตาะ สมกฺษมฺฯ
สฺวลฺเป’ปิ ตาวทปการิณิ พทฺธโรษา
มาโนนฺนตาสฺตมนิหตฺย น ยานฺติ นิทฺรามฺ
๚๓๖๚
ปฺรกฤติมรณทุะขิตานฺธการานฺฯ
รณศิรสิ ปฺรสภํ นิหนฺตุมุคฺราะฯ
อคณิตศรศกฺติฆาตทุะขา
น วิมุขตามุปยานฺตฺยสาธยิตฺวา
๚๓๗๚
กิมุต สตตสรฺวทุะขเหตูนฺ
ปฺรกฤติริปูนุปหนฺตุมุทฺยตสฺยฯ
ภวติ มม วิษาทไทนฺยมทฺย
วฺยสนศไตรปิ เกน เหตุนา ไว
๚๓๘๚
อการเณไนว ริปุกฺษตานิ
คาเตฺรษฺวลํการวทุทฺวหนฺติฯ
มหารฺถสิทฺธฺไย ตุ สมุทฺยตสฺย
ทุะขานิ กสฺมานฺมม พาธกานิ
๚๓๙๚
สฺวชีวิกามาตฺรนิพทฺธจิตฺตาะ
ไกวรฺตจณฺฑาลกฤษีวลาทฺยาะฯ
ศีตาตปาทิวฺยสนํ สหนฺเต
ชคทฺธิตารฺถํ น กถํ สเห’หมฺ
๚๔๐๚
ทศทิคฺวฺโยมปรฺยนฺตชคตฺเกฺลศวิโมกฺษเณฯ
ปฺรติชฺญาย มทาตฺมาปิ น เกฺลเศภฺโย วิโมจิตะ
๚๔๑๚
อาตฺมปฺรมาณมชฺญาตฺวา พฺรุวนฺนุนฺมตฺตกสฺตทาฯ
อนิวรฺตี ภวิษฺยามิ ตสฺมาตฺเกฺลศวเธ สทา
๚๔๒๚
อตฺร คฺรหี ภวิษฺยามิ พทฺธไวรศฺจ วิคฺรหีฯ
อนฺยตฺร ตทฺวิธาตฺเกฺลศาตฺ เกฺลศฆาตานุพนฺธินะ
๚๔๓๚
คลนฺตฺวนฺตฺราณิ เม กามํ ศิระ ปตตุ นาม เมฯ
น ตฺเววาวนติํ ยามิ สรฺวถา เกฺลศไวริณามฺ
๚๔๔๚
นิรฺวาสิตสฺยาปิ ตุ นาม ศโตฺรรฺเทศานฺตเร
สฺถานปริคฺรหะ สฺยาตฺฯ
ยตะ ปุนะ สํภฤตศกฺติเรติ น เกฺลศศโตฺรรฺคติรีทฤศี ตุ
๚๔๕๚
กฺวาเสา ยายานฺมนฺมนะสฺโถ นิรสฺตะ
สฺถิตฺวา ยสฺมินฺ มทฺวธารฺถํ ยเตตฯ
โนทฺโยโค เม เกวลํ มนฺทพุทฺเธะ
เกฺลศาะ ปฺรชฺญาทฤษฺฏิสาธฺยา วรากาะ
๚๔๖๚
น เกฺลศา วิษเยษุ เนนฺทฺริยคเณ นาปฺยนฺตราเล สฺถิตา
นาโต’นฺยตฺร กุห สฺถิตาะ ปุนรมี มถฺนนฺติ กฤตฺสฺนํ ชคตฺฯ
มาไยเวยมโต วิมุญฺจ หฤทยํ ตฺราสํ ภชสฺโวทฺยมํ
ปฺรชฺญารฺถํ กิมกาณฺฑ เอว นรเกษฺวาตฺมานมาพาธเส
๚๔๗๚
เอวํ วินิศฺจิตฺย กโรมิ ยตฺนํ
ยโถกฺตศิกฺษาปฺรติปตฺติเหโตะฯ
ไวทฺโยปเทศาจฺจลตะ กุโต’สฺติ
ไภษชฺยสาธฺยสฺย นิรามยตฺวมฺ
๚๔๘๚

อิติ โพธิจิตฺตาปฺรมาทศฺจตุรฺถะ ปริจฺเฉทะ๚ะ๛

ปริวรรตเป็นไทยปรับรูป(สำหรับบุคคลทั่วไป)

ศานติเทวะวิระจิตะห์ โพธิจรรยาวะตาระห์ฯ
โพธิจิตตาประมาโท นามะ จะตุรถะห์ ปะริจเฉทะห์ฯ

 

เอวัม คฤหีตวา สุทฤฒัม โพธิจิตตัม ชินาตมะชะห์ฯ
ศิกษานะติกระเม ยัตนัม กุรยานนิตยะมะตันทริตะห์
๚๑๚
สะหะสา ยัตสะมารัพธัม สัมยัค ยะทะวิจาริตัมฯ
ตะตระ กุรยานนะ เวตเยวัม ประติชญายาปิ ยุชยะเต
๚๒๚
วิจาริตัม ตุ ยัทพุทไธรมะหาปราชไญศจะ ตัตสุไตห์ฯ
มะยาปิ จะ ยะถาศักติ ตะตระ กิม ปะริลัมพยะเต
๚๓๚
ยะทิ ไจวัม ประติชญายะ สาธะเยยัม นะ กรรมะณาฯ
เอตาม สรรวาม วิสัมวาทยะ กา คะติรเม ภะวิษยะติ
๚๔๚
มะนะสา จินตะยิตวาปิ โย นะ ทัทยาตปุนรรนะระห์ฯ
สะ เปรโต ภะวะตีตยุกตะมัลปะมาเตรปิ วัสตุนิ
๚๕๚
กิมุตานุตตะรัม เสาขยะมุจไจรุทธุษยะ ภาวะตะห์ฯ
ชะคัตสรรวัม วิสัมวาทยะ กา คะติรเม ภะวิษยะติ
๚๖๚
เวตติ สรรวัชญะ เอไวตามะจินตยาม กรรมะโณ คะติมฯ
ยัทโพธิจิตตัตยาเคปิ โมจะยัตเยวัม ตาม นะราน
๚๗๚
โพธิสัตตวัสยะ เตไนวัม สรรวาปัตติรคะรียะสีฯ
ยัสมาทาปัทยะมาโนเสา สรรวะสัตตวารถะหานิกฤต
๚๘๚
โยปยันยะห์ กษะณะมัปยัสยะ ปุณยะวิฆนัม กะริษยะติฯ
ตัสยะ ทุรคะติปรรยันโต นาสติ สัตตวารถะฆาตินะห์
๚๙๚
เอกัสยาปิ หิ สัตตวัสยะ หิตัม หัตวา หะโต ภะเวตฯ
อะเศษากาศะปรรยันตะวาสินาม กิมุ เทหินาม
๚๑๐๚
เอวะมาปัตติพะละโต โพธิจิตตะพะเลนะ จะฯ
โทลายะมานะห์ สัมสาเร ภูมิปราปเตา จิรายะเต
๚๑๑๚
ตัสมาทยะถาประติชญาตัม สาธะนียัม มะยาทะราตฯ
นาทยะ เจตกริยะเต ยัตนัสตะเลนาสมิ ตะลัม คะตะห์
๚๑๒๚
อะประเมยา คะตา พุทธาห์ สรรวะสัตตวะคะเวษะกาห์ฯ
ไนษามะหัม สวะโทเษณะ จิกิตสาโคจะรัม คะตะห์
๚๑๓๚
อัทยาปิ เจตตะไถวะ สยาม ยะไถวาหัม ปุนะห์ ปุนะห์ฯ
ทุรคะติวยาธิมะระณัจเฉทะเภทาทยะวาปนุยาม
๚๑๔๚
กะทา ตะถาคะโตตปาทัม ศรัทธาม มานุษยะเมวะ จะฯ
กุศะลาภยาสะโยคยัตวะเมวัม ลัปสเยติทุรละภัม
๚๑๕๚
อาโรคยัม ทิวะสัม เจทัม สะภักตัม นิรุปะทระวัมฯ
อายุห์กษะณัม วิสัมวาทิ กาโยปาจิตะโกปะมะห์
๚๑๖๚
นะ หีทฤไศรมัจจะริไตรมานุษยัม ลัภยะเต ปุนะห์ฯ
อะลัภยะมาเน มานุษเย ปาปะเมวะ กุตะห์ ศุภัม
๚๑๗๚
ยะทา กุศะละโยคโยปิ กุศะลัม นะ กะโรมยะหัมฯ
อะปายะทุห์ไขห์ สัมมูฒะห์ กิม กะริษยามยะหัม ตะทา
๚๑๘๚
อะกุรวะตัศจะ กุศะลัม ปาปัม จาปยุปะจินวะตะห์ฯ
หะตะห์ สุคะติศัพโทปิ กัลปะโกฏิศะไตระปิ
๚๑๙๚
อะตะ เอวาหะ ภะคะวาน-มานุษยะมะติทุรละภัมฯ
มะหารณะวะยุคัจฉิทระกูรมะครีวารปะโณปะมัม
๚๒๐๚
เอกักษะณะกฤตาต ปาปาทะวีเจา กัลปะมาสยะเตฯ
อะนาทิกาโลปะจิตาต ปาปาต กา สุคะเตา กะถา
๚๒๑๚
นะ จะ ตันมาตระเมวาเสา เวทะยิตวา วิมุจยะเตฯ
ตัสมาตตัทเวทะยันเนวะ ปาปะมันยัต ประสูยะเต
๚๒๒๚
นาตะห์ ปะรา วัญจะนาสติ นะ จะ โมโหสตยะตะห์ ปะระห์ฯ
ยะทีทฤศัม กษะณัม ปราปยะ นาภยัสตัม กุศะลัม มะยา
๚๒๓๚
ยะทิ ไจวัม วิมฤษยามิ ปุนะห์ สีทามิ โมหิตะห์ฯ
โศจิษยามิ จิรัม ภูโย ยะมะทูไตห์ ประโจทิตะห์
๚๒๔๚
จิรัม ธักษยะติ เม กายัม นาระกาคนิห์ สุทุห์สะหะห์ฯ
ปัศจาตตาปานะลัศจิตตัม จิรัม ธักษยัตยะศิกษิตัม
๚๒๕๚
กะถัญจิทะปิ สัมปราปโต หิตะภูมิม สุทุรละภามฯ
ชานันนะปิ จะ นีเยหัม ตาเนวะ นะระกาน ปุนะห์
๚๒๖๚
อะตระ เม เจตะนา นาสติ มันไตรริวะ วิโมหิตะห์ฯ
นะ ชาเน เกนะ มุหยามิ โกตรานตรรมะมะ ติษฐะติ
๚๒๗๚
หัสตะปาทาทิระหิตาสตฤษณาทเวษาทิศะตระวะห์ฯ
นะ ศูรา นะ จะ เต ปราชญาห์ กะถัม ทาสีกฤโตสมิ ไตห์
๚๒๘๚
มัจจิตตาวัสถิตา เอวะ ฆนันติ มาเมวะ สุสถิตาห์ฯ
ตัตราปยะหัม นะ กุปยามิ ธิคัสถานะสะหิษณุตาม
๚๒๙๚
สรรเว เทวา มะนุษยาศจะ ยะทิ สยุรมะมะ ศะตระวะห์ฯ
เตปิ นาวีจิกัม วหนิม สะมุทานะยิตุม กษะมาห์
๚๓๐๚
เมโรระปิ ยะทาสังคานนะ ภัสมาปยุปะลัภยะเตฯ
กษะณาต กษิปันติ มาม ตะตระ พะลินะห์ เกลศะศะตระวะห์
๚๓๑๚
นะ หิ สรรวานยะศะตรูณาม ทีรฆะมายุระปีทฤศัมฯ
อะนาทยันตัม มะหาทีรฆัม ยันมะมะ เกลศะไวริณาม
๚๓๒๚
สรรเว หิตายะ กัลปันเต อานุกูลเยนะ เสวิตาห์ฯ
เสวยะมานาสตวะมี เกลศาห์ สุตะราม ทุห์ขะการะกาห์
๚๓๓๚
อิติ สันตะตะทีรฆะไวริษุ วยะสะเนาฆะประสะไวกะเหตุษุฯ
หฤทะเย นิวะสัตสุ นิรภะยัม มะมะ สัมสาระระติห์ กะถัม ภะเวต
๚๓๔๚
ภะวะจาระกะปาละกา อิเม นะระกาทิษวะปิ วัธยะฆาตะกาห์ฯ
มะติเวศมะนิ โลภะปัญชะเร ยะทิ ติษฐันติ กุตะห์ สุขัม มะมะ
๚๓๕๚
ตัสมานนะ ตาวะทะหะมะตระ ธุรัม กษิปามิ
ยาวันนะ ศะตระวะ อิเม นิหะตาห์ สะมักษัมฯ
สวัลเปปิ ตาวะทะปะการิณิ พัทธะโรษา
มาโนนนะตาสตะมะนิหัตยะ นะ ยานติ นิทราม
๚๓๖๚
ประกฤติมะระณะทุห์ขิตานธะการานฯ
ระณะศิระสิ ประสะภัม นิหันตุมุคราห์ฯ
อะคะณิตะศะระศักติฆาตะทุห์ขา
นะ วิมุขะตามุปะยานตยะสาธะยิตวา
๚๓๗๚
กิมุตะ สะตะตะสรรวะทุห์ขะเหตูน
ประกฤติริปูนุปะหันตุมุทยะตัสยะฯ
ภะวะติ มะมะ วิษาทะไทนยะมัทยะ
วยะสะนะศะไตระปิ เกนะ เหตุนา ไว
๚๓๘๚
อะการะเณไนวะ ริปุกษะตานิ
คาเตรษวะลังการะวะทุทวะหันติฯ
มะหารถะสิทธไย ตุ สะมุทยะตัสยะ
ทุห์ขานิ กัสมานมะมะ พาธะกานิ
๚๓๙๚
สวะชีวิกามาตระนิพัทธะจิตตาห์
ไกวรรตะจัณฑาละกฤษีวะลาทยาห์ฯ
ศีตาตะปาทิวยะสะนัม สะหันเต
ชะคัทธิตารถัม นะ กะถัม สะเหหัม
๚๔๐๚
ทะศะทิควโยมะปรรยันตะชะคัตเกลศะวิโมกษะเณฯ
ประติชญายะ มะทาตมาปิ นะ เกลเศภโย วิโมจิตะห์
๚๔๑๚
อาตมะประมาณะมัชญาตวา พรุวันนุนมัตตะกัสตะทาฯ
อะนิวรรตี ภะวิษยามิ ตัสมาตเกลศะวะเธ สะทา
๚๔๒๚
อะตระ คระหี ภะวิษยามิ พัทธะไวรัศจะ วิคระหีฯ
อันยะตระ ตัทวิธาตเกลศาต เกลศะฆาตานุพันธินะห์
๚๔๓๚
คะลันตวันตราณิ เม กามัม ศิระห์ ปะตะตุ นามะ เมฯ
นะ ตเววาวะนะติม ยามิ สรรวะถา เกลศะไวริณาม
๚๔๔๚
นิรวาสิตัสยาปิ ตุ นามะ ศะโตรรเทศานตะเร
สถานะปะริคระหะห์ สยาตฯ
ยะตะห์ ปุนะห์ สัมภฤตะศักติเรติ นะ เกลศะศะโตรรคะติรีทฤศี ตุ
๚๔๕๚
กวาเสา ยายานมันมะนะห์สโถ นิรัสตะห์
สถิตวา ยัสมิน มัทวะธารถัม ยะเตตะฯ
โนทโยโค เม เกวะลัม มันทะพุทเธห์
เกลศาห์ ปรัชญาทฤษฏิสาธยา วะรากาห์
๚๔๖๚
นะ เกลศา วิษะเยษุ เนนทริยะคะเณ นาปยันตะราเล สถิตา
นาโตนยะตระ กุหะ สถิตาห์ ปุนะระมี มัถนันติ กฤตสนัม ชะคัตฯ
มาไยเวยะมะโต วิมุญจะ หฤทะยัม ตราสัม ภะชัสโวทยะมัม
ปรัชญารถัม กิมะกาณฑะ เอวะ นะระเกษวาตมานะมาพาธะเส
๚๔๗๚
เอวัม วินิศจิตยะ กะโรมิ ยัตนัม
ยะโถกตะศิกษาประติปัตติเหโตห์ฯ
ไวทโยปะเทศาจจะละตะห์ กุโตสติ
ไภษัชยะสาธยัสยะ นิรามะยัตวัม
๚๔๘๚

อิติ โพธิจิตตาประมาทัศจะตุรถะห์ ปะริจเฉทะห์๚ะ๛

 

[แปล]

โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ

ปริเฉทที่ ๔ ความไมประมาทในโพธิจิต
๑. เมื่อได้ยึดเอาซึ่งโพธิจิตอันมั่นคงเช่นนี้แล้ว บุตรของพระชินเจ้าไม่พึงล่วงละเมิดหลักข้อปฏิบัติทั้งหลาย แต่ควรบำเพ็ญเพียรตลอดกาลเป็นนิตย์โดยไม่ท้อถ้อยเถิด
๒. สิ่งใดอันบุคคลปรารภแล้วโดยพลัน สิ่งใดอันบุคคลไม่พิจารณาแล้วด้วยดี บุคคลนั้นย่อมไม่คิดอย่างนี้ว่า เขาพึงกระทำในสิ่งนั้น แม้ว่าเขาจะประกอบคำปฏิญญาไว้ก็ตาม
๓. ด้วยความสามารถอันกล้าหาญของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะละเลยในสิ่งที่พระพุทธเจ้าผู้ทรงปัญญามหาศาลทั้งหลาย หรือที่เหล่าพุทธบุตรและตัวข้าพเจ้าเองได้พิจารณาโดยถี่ถ้วนแล้วได้อย่างไร
๔. เมื่อได้ตั้งคำมั่นสัญญาไว้อย่างนี้แล้วถ้าหากข้าพเจ้าไม่กระทำตามคำปณิธานให้สมบูรณ์และเมื่อได้กล่าวคำเท็จไว้กับมนุษย์ทั้งปวงนั้น ชะตากรรมของข้าพเจ้าจักเป็นเช่นไรเล่า
๕. หากได้พิจารณาไตร่ตรองด้วยความคิดแล้วว่า ผู้ที่ไม่เคยให้(วัตถุใด ๆ) เลย เขาย่อมเป็นเปรตที่หิวกระหาย ดังนั้น บุคคลควรเอาใจใส่(บริจาค) ซึ่งวัตถุทั้งหลาย แม้มาตรว่าเล็กน้อยก็ตาม
๖. เพราะความที่สัตว์จำนวนมากมายได้ประกาศซึ่งความสุขอันยอดเยี่ยม ด้วยเสียงอันกึกก้องเมื่อกล่าวเท็จหลอกลวงต่อสัตว์โลกทั้งปวงนั้น ชะตากรรมแห่งชีวิตของข้าพเจ้าจักเป็นอย่างไรเล่า
๗. พระผู้ทรงเป็นสัพพัญญูพระองค์เดียวเท่านั้น ย่อมทรงทราบถึงคติแห่งการกระทำที่ใคร ๆ ไม่สามารถจะหยั่งรู้ได้ซึ่งเป็นคติอันยังนรชนเหล่านั้นให้หลุดพ้นเสียได้แม้จะเลิกล้มความตั้งใจในโพธิจิตแล้วก็ตาม
๘. เหตุเพราะเมื่อเขาล่วงละเมิดอยู่ซึ่งความผิดนี้ อันเป็นเครื่องทำลายซึ่งประโยชน์สุขของสรรพสัตว์ให้หมดไป ด้วยเหตุนั้น อาบัติทั้งปวงของพระโพธิสัตว์ จึงเป็นความลำบากยากเข็ญอย่างยิ่ง
๙. ผู้ใดก็ตามเมื่อได้สร้างอุปสรรคขวากหนามแห่งบุญกุศลไว้แก่เขา แม้เพียงชั่วขณะหนึ่งเพราะได้ทำลายประโยชน์สุขของสัตว์ทั้งหลาย ผู้นั้นย่อมมีความทุกข์ยากอย่างไร้ขอบเขตที่สิ้นสุด
๑๐. โดยแท้จริงผู้ที่ได้ประทุษร้ายต่อคนผู้ทำประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์แม้ตัวเดียวเท่านั้น ก็ย่อมเป็นคนทุกข์ยากแสนลำบาก จะป่วยกล่าวไปใยถึงการประทุษร้ายต่อสัตว์ทั้งหลายที่อาศัยอยู่โดยรอบอากาศธาตุทั้งปวงอีกเล่า
๑๑. เมื่อเขาได้แกว่งไกวเวียนว่ายอยู่ในวัฏสงสาร ด้วยพลังแห่งการล่วงละเมิดประพฤติผิด และด้วยพลังแห่งโพธิจิตอย่างนี้ เขาย่อมประพฤติตนชักช้าอยู่ แม้ขณะจะได้รับชั้นภูมิธรรมก็ตาม
๑๒. เพราะฉะนั้น ข้าพเจ้าพึงทำสิ่งที่ได้ตั้งปณิธานไว้ให้สำเร็จสมบูรณ์ด้วยความเอาใจใส่วันนี้หากข้าพเจ้าไม่พึงบำเพ็ญเพียรไซร้ข้าพเจ้าก็ย่อมตกไปสู่คติอันมืดมิดต่ำทราม
๑๓. พระพุทธเจ้าจำนวนมากมาย ผู้ทรงแสวงหาความช่วยเหลือแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ได้เสด็จผ่านไปแล้ว เพราะความผิดพลาดของตนเอง ข้าพเจ้าจึงมิได้ดำเนินไปสู่ทางโคจรแห่งยา(รักษาทุกข์) ของพระองค์ทั้งหลาย
๑๔. แม้หากในวันนี้ ข้าพเจ้าพึงเป็นอย่างที่ข้าพเจ้าเคยเป็นซ้ำ ๆ ซาก ๆ มาแล้วอีก ข้าพเจ้าย่อมสมควรจะได้รับความทุกข์ยาก ความเจ็บปวด ความตายและการตัดทำลายไป เป็นต้น
๑๕. การอุบัติขึ้นแห่งพระตถาคต ความศรัทธา ความเป็นมนุษย์และความสามารถในการบำเพ็ญกุศลทั้งหลาย ย่อมมีขึ้นในคราวใด ในคราวนั้น ข้าพเจ้าย่อมได้รับซึ่งสิ่งทั้งปวงนั้นได้ยากอย่างยิ่ง
๑๖. ก็ในวันนี้เป็นวันที่ข้าพเจ้าไม่มีโรค เพียบพร้อมไปด้วยภักษาหาร ปราศจากภัยอันตราย อายุเป็นสิ่งหลอกลวงไม่แน่นอน อุปมาเหมือนร่างกายที่ถูกยืมมาเพียงชั่วขณะเท่านั้น
๑๗. ก็แล เพราะความประพฤติอยู่เช่นนี้ ข้าพเจ้าจึงไม่ได้รับสภาวะแห่งความเป็นมนุษย์อีก เมื่อข้าพเจ้าไม่ได้รับความเป็นมนุษย์บาปเท่านั้นย่อมมี คุณงามความดีจักมีแต่ที่ไหน
๑๘. เมื่อใด ข้าพเจ้าเป็นผู้สามารถจะบำเพ็ญซึ่งกุศลได้ แต่กลับไม่บำเพ็ญซึ่งกุศล เมื่อนั้นข้าพเจ้าผู้หลงงมงายอยู่กับด้วยความทุกข์ในอบาย จักกระทำอย่างไรได้อีกเล่า
๑๙. เพราะการไม่บำเพ็ญกุศลและเพราะการสะสมซึ่งบาป แม้คำว่า สุคติ ก็ย่อมถูกลบเลือนทำลายไปเป็นเวลาหลายร้อยโกฏิกัลป์
๒๐. เพราะเหตุนี้เอง พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า อัตภาพความเป็นมนุษย์นั้นเป็นสิ่งที่ได้ยากอย่างยิ่ง อุปมาเหมือนการสอดคอไปแห่งเต่าตัวต้องการจะเกาะยึดซึ่งแอกในมหาสมุทรฉะนั้น
๒๑. ด้วยบาปที่ได้กระทำไว้เพียงชั่วขณะหนึ่ง บุคคลย่อมอยู่ในอเวจีมหานรกตลอดกัลป์ เพราะบาปที่ได้สั่งสมไว้ในกาลอันไม่มีจุดเริ่มต้น การกล่าวถึงสุคติจักมีได้อย่างไรเล่า
๒๒. แม้ว่าบุคคลจะได้รับรู้ซึ่งผลแห่งบาปเพียงเท่านี้ ก็ย่อมไม่สามารถจะหลุดพ้นได้ ดังนั้น เมื่อบุคคลได้รับรู้ซึ่งผลบาปนั้นอยู่นั่นเอง บาปอื่น ๆ ก็จะเกิดขึ้น (แก่เขา)
๒๓. ความหลอกลวงอื่น ๆ ไม่มียิ่งไปกว่านี้ ทั้งความโง่เขลาอื่นก็จะไม่มียิ่งไปกว่าการไม่สร้างคุณความดี เหตุนั้น เมื่อได้รับโอกาส(อันน้อยนิด) เช่นนี้แล้ว ข้าพเจ้าจักยังไม่บำเพ็ญซึ่งการพอกพูนบุญกุศล(อีกหรือ )
๒๔. แต่หากข้าพเจ้าย่อมทุกข์เสียใจอยู่อย่างนี้ ข้าพเจ้าก็ย่อมนั่งหลงโง่อยู่อีกต่อไป ข้าพเจ้าผู้ถูกยมทูตทั้งหลายบีบคั้นครอบงำอยู่ ก็จะเร่าร้อนอย่างยิ่งยวดตลอดกาลนาน
๒๕. เปลวไฟในนรกที่ยากจะทนทานได้ จักเผาไหม้ซึ่งร่างกายของข้าพเจ้าตลอดกาลนานไฟเครื่องเผาผลาญให้เร่าร้อนในภายหลัง จักเผาไหม้ซึ่งจิตที่ไม่ได้รับการศึกษาอบรมให้เร่าร้อนสิ้นกาลนาน
๒๖. อย่างไรก็ตาม เมื่อได้รับซึ่งภูมิอันประเสริฐที่หาได้ยากอย่างยิ่งแล้ว ข้าพเจ้าแม้รู้อยู่ ก็ยังเป็นผู้ตกลงไปสู่นรกทั้งหลายเหล่านั้นอีก
๒๗. เจตนาในเรื่องนี้ย่อมไม่มีแก่ข้าพเจ้า เหมือนบุคคลผู้โง่หลงอยู่กับเวทมนตร์ทั้งหลาย ข้าพเจ้าย่อมไม่รู้ว่า ข้าพเจ้าหลงอยู่ด้วยสิ่งใด ในเพราะเหตุนี้อะไรย่อมตั้งอยู่ในภายในของข้าพเจ้า
๒๘. ศัตรูทั้งหลายมี ความโลภและความโกรธ เป็นต้น ล้วนเป็นสิ่งที่ปราศจากซึ่งอวัยวะทั้งหลายมี มือและเท้า เป็นต้น ทั้งศัตรูเหล่านั้นก็ไม่มีความกล้าหาญและไม่มีซึ่งปัญญา ข้าพเจ้าย่อมถูกศัตรูเหล่านั้นทำให้เป็นทาสได้อย่างไร
๒๙. (ศัตรูเหล่านั้น) ได้อาศัยอยู่ภายในจิตของข้าพเจ้านั่นเอง พวกมันอาศัยอยู่อย่างมั่นคงด้วยดีย่อมทำลายซึ่งข้าพเจ้านั่นเทียว แม้กระนั้นก็ตาม ข้าพเจ้าย่อมไม่โกรธ(ตอบ) ในหมู่ศัตรูเหล่านั้น น่าละอายเสียจริง ๆ ที่มีความอดทนในเวลาอันไม่เหมาะสม(เช่นนี้)
๓๐. หากเทวดาและมนุษย์ทั้งปวงพึงเป็นศัตรูของข้าพเจ้าไซร้ แม้พวกเขาเหล่านั้นก็ไม่พึงเป็นผู้สามารถเพื่อจะนำ (ข้าพเจ้า ) ลงไปสู่ไฟอันมีอยู่ในอเวจีมหานรกได้
๓๑. ในขณะที่แม้ขี้เถ้าแห่งภูเขาพระสุเมรุ(ข้าพเจ้า) ก็ไม่อาจจะได้รับเพียงเพราะได้สัมผัสพบเห็นเท่านั้น แต่ศัตรูคือ กิเลสทั้งหลาย ซึ่งมีกำลังมหาศาล ย่อมสามารถซัดเหวี่ยงข้าพเจ้าลงไปใน(นรก) นั้นได้โดยทันที
๓๒. แม้อายุของศัตรูอื่น ๆ ทั้งปวงนั้น ย่อมไม่ยืดยาวเป็นเช่นเดียวกับ(อายุ) ของศัตรูคือกิเลสทั้งหลายของข้าพเจ้า ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่มีเบื้องต้นไม่มีที่สิ้นสุดและยืนยาวมาก
๓๓. ศัตรูทั้งปวงที่ถูกข้าพเจ้าปฏิบัติอยู่ด้วยความเมตตานุเคราะห์แล้ว ย่อมสามารถหมุนกลับไปเพื่อประโยชน์สุขได้(แต่) กิเลสเหล่านี้ เมื่อข้าพเจ้าส่องเสพ(คบหา) อยู่ ย่อมเป็นสิ่งสร้างทุกข์ให้เกิดขึ้นได้มากกว่า
๓๔. ดังนั้น เมื่อเหล่าศัตรูผู้มีอายุยืนยาวอย่างมั่นคง อันเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดห้วงน้ำแห่งความชั่วร้าย ได้อาศัยอยู่ภายในใจ(ของข้าพเจ้า) ความไม่มีภัยและความรู้สึกยินดีในสังสารวัฏจะพึงมีได้อย่างไรกัน
๓๕. หากผู้คุ้มครองหมู่สัตว์ที่ท่องเที่ยวไปในภพทั้งหลายเหล่านี้ ได้เป็นมือเพชฌฆาตผู้ทำลายในที่ทั้งหลายมี นรก เป็นต้น แล้วดำรงมั่นอยู่ในการควบคุมของความโลภซึ่งอาศัยอยู่ภายในจิตใจ ความสุขของข้าพเจ้าจักมีแต่ที่ไหนเล่า
๓๖. เพราะฉะนั้น ข้าพเจ้าจักไม่ทอดทิ้งธุระในเรื่องนี้ เพียงไรแต่ศัตรูเหล่านี้ยังไม่ถูกทำลายไปโดยแน่ชัด การกระทำผิดแม้ในเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ ย่อมถูกความโกรธท่วมทับแล้ว ฉะนั้นบุคคลผู้มีทิฏฐิมานะจัด เมื่อยังไม่สามารถกำจัดทำลายซึ่งศัตรู(คือกิเลส) นั้นก็ย่อมไม่สามารถจะก้าวลงสู่นิทราได้
๓๗. พลังในการทำลายอันรุนแรงแห่งสงคราม ย่อมมีอำนาจอย่างมากที่จะทำลายความตายความทุกข์และอวิชชา ที่เคยเกิดขึ้นมาแล้วให้หมดไปได้ เมื่อข้าพเจ้ายังไม่สามารถ(ทำลายศัตรูเหล่านั้น ) ให้สำเร็จลงได้ความทุกข์ทรมานที่เกิดจากการทำลายของลูกศรและดาบหอกอันกำหนดนับไม่ได้ก็ย่อมไม่นำไปสู่ความยินยอมได้
๓๘. เหตุนั้น เมื่อข้าพเจ้าได้เริ่มทำลายซึ่ง(ศัตรู) แห่งธรรมชาติ อันเป็นสาเหตุแห่งความทุกข์ทั้งปวงอย่างต่อเนื่องแล้ว วันนี้ เพราะเหตุอะไรหนอแล ความหดหู่และความเศร้าโศกจึงมีแก่ข้าพเจ้า พร้อมกับความทุกข์ยากตั้ง ๑๐๐ ชนิด
๓๙. เพราะไร้ซึ่งประโยชน์นั่นเอง(คนอื่น ๆ) จึงได้นำเอาความเจ็บปวดจากศัตรูทิ้งเสีย เหมือนเครื่องประดับบนร่างกาย ดังนั้น เพราะเหตุอะไร ความทุกข์ยากทั้งหลายจึงเป็นอุปสรรคแก่ข้าพเจ้า ผู้ซึ่งกำลังประสบความสำเร็จในประโยชน์อันยิ่งใหญ่อีกเล่า
๔๐. ชาวประมง คนจัณฑาลและหมู่ชาวนา เป็นต้น ซึ่งเป็นผู้มีจิตใจยึดติดอยู่เพียงความต้องการดำเนินชีวิตของตน ย่อมอดทนต่อความทุกข์ยากมี ความหนาวและความร้อน เป็นต้นแล้วข้าพเจ้าจะไม่อดทนต่อประโยชน์สุขของโลกได้อย่างไรกัน
๔๑. เมื่อข้าพเจ้าได้สัญญาไว้กับสัตว์โลกซึ่งแผ่ไปทั่วอากาศธาตุทั้ง๑๐ ทิศ เพื่อให้หลุดพ้นจากกิเลส แต่(ข้าพเจ้ากลับ ) ไม่หลุดพ้นจากกิเลสด้วยตัวของข้าพเจ้าเอง
๔๒. ข้าพเจ้าไม่รู้แล้วซึ่งประมาณของตน เป็นคนบ้าไร้สติ กล่าวอยู่ในเวลาเช่นนั้น ดังนั้นข้าพเจ้าจักไม่หวนกลับในการกำจัดซึ่งกิเลสในกาลทุกเมื่อ
๔๓. ข้าพเจ้าจักเป็นผู้ยึดมั่นในเรื่องนี้ และจักเป็นศัตรูผู้ผูกพันอยู่กับการทะเลาะวิวาท เป็นผู้ติดตามเข่นฆ่าซึ่งกิเลส พร้อมด้วยเหล่ากิเลสชนิดต่าง ๆ ในทุก ๆ ที่
๔๔. ท้องไส้ทั้งหลายของข้าพเจ้าจงหยดไหล ศีรษะของข้าพเจ้าจงตกแตกไปก็ตามเถิด ถึงอย่างไร ข้าพเจ้าก็จะไม่ไปสู่ความถ่อมตนต่อศัตรูคือกิเลสทั้งหลายโดยประการทั้งปวง
๔๕. ก็การยึดเอาซึ่งที่พักอาศัยของศัตรูผู้ถูกขับไล่แล้ว พึงมีในระหว่างประเทศ(อื่น ๆ) ต่อจากนั้น พลังอันศัตรูนั้นสั่งสมแล้วย่อมถึง(แก่เขา) อีก แต่คติแห่งศัตรูคือกิเลสย่อมไม่เป็นเช่นนั้น
๔๖. ศัตรูคือกิเลสซึ่งอาศัยอยู่ในใจของข้าพเจ้านี้ เป็นผู้ถูกขับไล่แล้ว พึงไป ณ ที่ไหน มันดำรงอยู่แล้วในที่ใด พึงพยายามเพื่อประโยชน์แห่งการทำลายข้าพเจ้าได้เล่า ความเพียรย่อมไม่มีแก่ข้าพเจ้า ก็เพราะความรู้ที่โง่เขลาอย่างเดียว กิเลสอันชั่วช้าลามกทั้งหลาย ย่อมทำให้สำเร็จลงได้ด้วยดวงตาแห่งปัญญา
๔๗. กิเลสทั้งหลาย ย่อมไม่ดำรงอยู่ในวัตถุทั้งหลาย ย่อมไม่มีในหมู่แห่งอินทรีย์ ย่อมไม่ตั้งอยู่แม้ในสถานที่อันมีในท่ามกลาง ทั้งย่อมไม่มีในที่อื่น ๆ กิเลสทั้งหลายเหล่านี้ตั้งอยู่แล้วในที่ใดย่อมก่อกวนซึ่งสัตว์โลกทั้งปวง(ให้เดือดร้อน) อีก มันเป็นเพียงมายาเท่านั้น ดังนั้น ท่านจงปล่อยทิ้งซึ่งความกลัวในจิตใจเสีย จงคบซึ่งความเพียรพยายาม เพื่อประโยชน์แห่งปัญญาเพราะเหตุไร ท่านย่อมเบียดเบียนซึ่งตนในนรกทั้งหลายโดยฉับพลันด้วยเล่า
๔๘. ข้าพเจ้าเมื่อได้พิจารณาอย่างนี้แล้ว ย่อมบำเพ็ญซึ่งความพากเพียรเพื่อวัตถุประสงค์แห่งการปฏิบัติตามข้อศีลทั้งหลายดังกล่าวแล้ว เมื่อบุคคลหวั่นไหวอยู่จากคำแนะนำของแพทย์ความเป็นผู้หายป่วยแห่งบุคคลผู้รักษาด้วยการเยียวยา จักมีแต่ที่ไหนได้เล่า

Audio Source: 
http://www.bodhisvara.com/

Text Source: 

http://www.dsbcproject.org/node/4810

Text Version: 

Devanāgarī

Input Personnel: 

DSBC Staff

Input Date: 

2005

Proof Reader: 

Miroj Shakya

Supplier: 

Nagarjuna Institute of Exact Methods

Sponsor: 

University of the West

อ้างอิง

1. Digital Sanskrit Buddhist Canon, 2013, Bodhicaryāvatāra [Online], Available: http://www.dsbcproject.org[2016, May 26].

2. BODHISVARA, 2013, Śāntideva’s Bodhicaryāvatāra [Online], Available: http://www.bodhisvara.com/[2016, May 26].

3.พระมหาวิชาญ กำเหนิดกลับ, 2549, การศึกษาเชิงวิเคราะห์คัมภีร์โพธิจรรยาวตาร , วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาภาษาสันสกฤต ภาควิชาภาษาตะวันออก มหาวิทยาลัยศิลปากร หน้า ภาคผนวก ข คัมภีร์โพธิจรรยาวตาร ฉบับแปล

อ่านเอกสารตัวเต็มจากสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร
http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/thapra/PhramahaVichan_Kamnerdklab/Fulltext.pdf

เพื่อการศึกษาภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License
แสดงที่มาข้อมูลที่มาของแหล่งเอกสาร-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0  (CC BY-NC-ND 4.0)

Loading

Be the first to comment on "คัมภีร์โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ ปริเฉทที่ ๔"

Leave a comment