คัมภีร์โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ ปริเฉทที่ ๖

แบ่งปันในสังคมออนไลน์

 

โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ

ปริเฉทที่ ๖ ชื่อ กษานติบารมี

960319_Ksitigharba_Jinshe

โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ ปริเฉทที่ ๖ ชื่อ กษานติบารมี

ในปริเฉทที่ ๖ ท่านศานติเทวะอธิบายถึง ขันติบารมี ที่มุ่งอธิบายถึงการสอนพระโพธิสัตว์ให้เป็นผู้หมั่นอบรมฝึกฝนจิตใจตน ให้ประกอบอยู่ด้วยความอดทนอดกลั้นต่อสภาวการณ์ต่าง ๆ
ไปสู่การปฏิบัติตามหลักโพธิสัตว์

ต้นฉบับจากโครงการ DSBC ปริวรรตเป็นไทยโดยโปรแกรมไทย-สันสคริปท์ เสียงจากโครงการ Bodhisvara ในส่วนคำแปลได้รับอนุญาตจากผู้แปลให้เผยแพร่โดย พระมหาวิชาญ กำเหนิดกลับ

[คลิกเพื่อเปิดเสียง]

ปริวรรตเป็นไทยคงรูป

๖ กฺษานฺติปารมิตา นาม ษษฺฐะ ปริจฺเฉทะฯ

สรฺวเมตตฺสุจริตํ ทานํ สุคตปูชนมฺฯ

กฤตํ กลฺปสหไสฺรรฺยตฺปฺรติฆะ ปฺรติหนฺติ ตตฺ๚ ๑๚

น จ ทฺเวษสมํ ปาปํ น จ กฺษานฺติสมํ ตปะฯ

ตสฺมาตฺกฺษานฺติํ ปฺรยตฺเนน ภาวเยทฺวิวิไธรฺนไยะ๚ ๒๚

มนะ ศมํ น คฤหฺณาติ น ปฺรีติสุขมศฺนุเตฯ

น นิทฺรํา น ธฤติํ ยาติ ทฺเวษศลฺเย หฤทิ สฺถิเต๚ ๓๚

ปูชยตฺยรฺถมาไนรฺยานฺ เย’ปิ ไจนํ สมาศฺริตาะฯ

เต’ปฺเยนํ หนฺตุมิจฺฉนฺติ สฺวามินํ ทฺเวษทุรฺภคมฺ๚ ๔๚

สุหฤโท’ปฺยุทฺวิชนฺเต’สฺมาทฺ ททาติ น จ เสวฺยเตฯ

สํเกฺษปานฺนาสฺติ ตตฺกิํจิตฺ โกฺรธโน เยน สุสฺถิตะ๚ ๕๚

เอวมาทีนิ ทุะขานิ กโรตีตฺยริสํชฺญยาฯ

ยะ โกฺรธํ หนฺติ นิรฺพนฺธาตฺ ส สุขีห ปรตฺร จ๚ ๖๚

อนิษฺฏกรณาชฺชาตมิษฺฏสฺย จ วิฆาตนาตฺฯ

เทารฺมนสฺยาศนํ ปฺราปฺย ทฺเวโษ ทฤปฺโต นิหนฺติ มามฺ๚ ๗๚

ตสฺมาทฺวิฆาตยิษฺยามิ ตสฺยาศนมหํ ริโปะฯ

ยสฺมานฺน มทฺวธาทนฺยตฺกฤตฺยมสฺยาสฺติ ไวริณะ๚ ๘๚

อตฺยนิษฺฏาคเมนาปิ น โกฺษภฺยา มุทิตา มยาฯ

เทารฺมนสฺเย’ปิ นาสฺตีษฺฏํ กุศลํ ตฺววหียเต๚ ๙๚

ยทฺยสฺตฺเยว ปฺรตีกาโร เทารฺมนสฺเยน ตตฺร กิมฺฯ

อถ นาสฺติ ปฺรตีกาโร เทารฺมนสฺเยน ตตฺร กิมฺ๚ ๑๐๚

ทุะขํ นฺยกฺการปารุษฺยมยศศฺเจตฺยนีปฺสิตมฺฯ

ปฺริยาณามาตฺมโน วาปิ ศโตฺรศฺไจตทฺวิปรฺยยาตฺ๚ ๑๑๚

กถํจิลฺลภฺยเต เสาขฺยํ ทุะขํ สฺถิตมยตฺนตะฯ

ทุะเขไนว จ นิะสาระ เจตสฺตสฺมาทฺ ทฤฒีภว๚ ๑๒๚

ทุรฺคาปุตฺรกกรฺณาฏา ทาหจฺเฉทาทิเวทนามฺฯ

วฤถา สหนฺเต มุกฺตฺยรฺถมหํ กสฺมาตฺตุ กาตระ๚ ๑๓๚

น กิํจิทสฺติ ตทฺวสฺตุ ยทภฺยาสสฺย ทุษฺกรมฺฯ

ตสฺมานฺมฤทุวฺยถาภฺยาสาตฺ โสฒวฺยาปิ มหาวฺยถา๚ ๑๔๚

อุทฺทํศทํศมศกกฺษุตฺปิปาสาทิเวทนามฺฯ

มหตฺกณฺฑฺวาทิทุะขํ จ กิมนรฺถํ น ปศฺยสิ๚ ๑๕๚

ศีโตษฺณวฤษฺฏิวาตาธฺววฺยาธิพนฺธนตาฑไนะฯ

เสากุมารฺยํ น กรฺตวฺยมนฺยถา วรฺธเต วฺยถา๚ ๑๖๚

เกจิตฺสฺวโศณิตํ ทฤษฺฏฺวา วิกฺรมนฺเต วิเศษตะฯ

ปรโศณิตมปฺเยเก ทฤษฺฏฺวา มูรฺจฺฉํา วฺรชนฺติ ยตฺ๚ ๑๗๚

ตจฺจิตฺตสฺย ทฤฒตฺเวน กาตรตฺเวน จาคตมฺฯ

ทุะขทุรฺโยธนสฺตสฺมาทฺภเวทภิภเวทฺวฺยถามฺ๚ ๑๘๚

ทุะเข’ปิ ไนว จิตฺตสฺย ปฺรสาทํ โกฺษภเยทฺ พุธะฯ

สํคฺราโม หิ สห เกฺลไศรฺยุทฺเธ จ สุลภา วฺยถา๚ ๑๙๚

อุรสาราติฆาตานฺ เย ปฺรตีจฺฉนฺโต ชยนฺตฺยรีนฺฯ

เต เต วิชยินะ ศูราะ เศษาสฺตุ มฤตมารกาะ๚ ๒๐๚

คุโณ’ปรศฺจ ทุะขสฺย ยตฺสํเวคานฺมทจฺยุติะฯ

สํสาริษุ จ การุณฺยํ ปาปาทฺภีติรฺชิเน สฺปฤหา๚ ๒๑๚

ปิตฺตาทิษุ น เม โกโป มหาทุะขกเรษฺวปิฯ

สเจตเนษุ กิํ โกปะ เต’ปิ ปฺรตฺยยโกปิตาะ๚ ๒๒๚

อนิษฺยมาณมปฺเยตจฺฉูลมุตฺปทฺยเต ยถาฯ

อนิษฺยมาโณ’ปิ พลาตฺโกฺรธ อุตฺปทฺยเต ตถา๚ ๒๓๚

กุปฺยามีติ น สํจินฺตฺย กุปฺยติ สฺเวจฺฉยา ชนะฯ

อุตฺปตฺสฺย อิตฺยภิเปฺรตฺย โกฺรธ อุตฺปทฺยเต น จ๚ ๒๔๚

เย เกจิทปราธาศฺจ ปาปานิ วิวิธานิ จฯ

สรฺวํ ตตฺปฺรตฺยยพลาตฺ สฺวตนฺตฺรํ ตุ น วิทฺยเต๚ ๒๕๚

น จ ปฺรตฺยยสามคฺรฺยา ชนยามีติ เจตนาฯ

น จาปิ ชนิตสฺยาสฺติ ชนิโต’สฺมีติ เจตนา๚ ๒๖๚

ยตฺปฺรธานํ กิลาภีษฺฏํ ยตฺตทาตฺเมติ กลฺปิตมฺฯ

ตเทว หิ ภวาภีติ น สํจินฺตฺโยปชายเต๚ ๒๗๚

อนุตฺปนฺนํ หิ ตนฺนาสฺติ ก อิจฺเฉทฺภวิตุํ ตทาฯ

วิษยวฺยาปฤตตฺวาจฺจ นิโรทฺธุมปิ เนหเต๚ ๒๘๚

นิตฺโย หฺยเจตนศฺจาตฺมา วฺโยมวตฺ สฺผุฏมกฺริยะฯ

ปฺรตฺยยานฺตรสงฺเค’ปิ นิรฺวิการสฺย กา กฺริยา๚ ๒๙๚

ยะ ปูรฺววตฺ กฺริยากาเล กฺริยายาสฺเตน กิํ กฤตมฺฯ

ตสฺย กฺริเยติ สํพนฺเธ กตรตฺตนฺนิพนฺธนมฺ๚ ๓๐๚

เอวํ ปรวศํ สรฺวํ ยทฺวศํ โส’ปิ จาวศะฯ

นิรฺมาณวทเจษฺเฏษุ ภาเวษฺเววํ กฺว กุปฺยเต๚ ๓๑๚

วารณาปิ น ยุกฺไตวํ กะ กิํ วารยตีติ เจตฺฯ

ยุกฺตา ปฺรตีตฺยตา ยสฺมาทฺทุะขสฺโยปรติรฺมตา๚ ๓๒๚

ตสฺมาทมิตฺรํ มิตฺรํ วา ทฤษฺฏฺวาปฺยนฺยายการิณมฺฯ

อีทฤศาะ ปฺรตฺยยา อสฺเยตฺเยวํ มตฺวา สุขี ภเวตฺ๚ ๓๓๚

ยทิ ตุ สฺเวจฺฉยา สิทฺธิะ สรฺเวษาเมว เทหินามฺฯ

น ภเวตฺกสฺยจิทฺทุะขํ น ทุะขํ กศฺจิทิจฺฉติ๚ ๓๔๚

ปฺรมาทาทาตฺมนาตฺมานํ พาธนฺเต กณฺฏกาทิภิะฯ

ภกฺตจฺเฉทาทิภิะ โกปาทฺทุราปสฺตฺรฺยาทิลิปฺสยา๚ ๓๕๚

อุทฺพนฺธนปฺรปาไตศฺจ วิษาปถฺยาทิภกฺษไณะฯ

นิฆฺนนฺติ เกจิทาตฺมานปุณฺยาจรเณน จ๚ ๓๖๚

ยไทวํ เกฺลศวศฺยวาทฺ ฆฺนนฺตฺยาตฺมานมปิ ปฺริยมฺฯ

ตไทษํา ปรกาเยษุ ปริหาระ กถํ ภเวตฺ๚ ๓๗๚

เกฺลโศนฺมตฺตีกฤเตษฺเวษุ ปฺรวฤตฺเตษฺวาตฺมฆาตเนฯ

น เกวลํ ทยา นาสฺติ โกฺรธ อุตฺปทฺยเต กถมฺ๚ ๓๘๚

ยทิ สฺวภาโว พาลานํา ปโรปทฺรวการิตาฯ

เตษุ โกโป น ยุกฺโต เม ยถาคฺเนา ทหนาตฺมเก๚ ๓๙๚

อถ โทโษ’ยมาคนฺตุะ สตฺตฺวาะ ปฺรกฤติเปศลาะฯ

ตถาปฺยยุกฺตสฺตตฺโกปะ กฏุธูเม ยถามฺพเร๚ ๔๐๚

มุขฺยํ ทณฺฑาทิกํ หิตฺวา เปฺรรเก ยทิ กุปฺยเตฯ

ทฺเวเษณ เปฺรริตะ โส’ปิ ทฺเวเษ ทฺเวโษ’สฺตุ เม วรมฺ๚ ๔๑๚

มยาปิ ปูรฺวํ สตฺตฺวานามีทฤศฺเยว วฺยถา กฤตาฯ

ตสฺมานฺเม ยุกฺตเมไวตตฺสตฺตฺโวปทฺรวการิณะ๚ ๔๒๚

ตจฺฉสฺตฺรํ มม กายศฺจ ทฺวยํ ทุะขสฺย การณมฺฯ

เตน ศสฺตฺรํ มยา กาโย คฤหีตะ กุตฺร กุปฺยเต๚ ๔๓๚

คณฺโฑ’ยํ ปฺรติมากาโร คฤหีโต ฆฏฺฏนาสหะฯ

ตฤษฺณานฺเธน มยา ตตฺร วฺยถายํา กุตฺร กุปฺยเต๚ ๔๔๚

ทุะขํ เนจฺฉามิ ทุะขสฺย เหตุมิจฺฉามิ พาลิศะฯ

สฺวาปราธาคเต ทุะเข กสฺมาทนฺยตฺร กุปฺยเต๚ ๔๕๚

อสิปตฺรวนํ ยทฺวทฺยถา นารกปกฺษิณะฯ

มตฺกรฺมชนิตา เอว ตเถทํ กุตฺร กุปฺยเต๚ ๔๖๚

มตฺกรฺมโจทิตา เอว ชาตา มยฺยปการิณะฯ

เยน ยาสฺยนฺติ นรกานฺมไยวามี หตา นนุ๚ ๔๗๚

เอตานาศฺริตฺย เม ปาปํ กฺษียเต กฺษมโต พหุฯ

มามาศฺริตฺย ตุ ยานฺตฺเยเต นรกานฺ ทีรฺฆเวทนานฺ๚ ๔๘๚

อหเมวาปการฺเยษํา มไมเต โจปการิณะฯ

กสฺมาทฺวิปรฺยยํ กฤตฺวา ขลเจตะ ปฺรกุปฺยสิ๚๔๙๚

ภเวนฺมมาศยคุโณ น ยามิ นรกานฺ ยทิฯ

เอษามตฺร กิมายาตํ ยทฺยาตฺมา รกฺษิโต มยา๚ ๕๐๚

อถ ปฺรตฺยปการี สฺยํา ตถาปฺเยเต น รกฺษิตาะฯ

หียเต จาปิ เม จรฺยา ตสฺมานฺนษฺฏาสฺตปสฺวินะ๚ ๕๑๚

มโน หนฺตุมมูรฺตตฺวานฺน ศกฺยํ เกนจิตฺกฺวจิตฺฯ

ศรีราภินิเวศาตฺตุ จิตฺตํ ทุะเขน พาธฺยเต๚๕๒๚

นฺยกฺการะ ปรุษํ วากฺยมยศศฺเจตฺยยํ คณะฯ

กายํ น พาธเต เตน เจตะ กสฺมาตฺปฺรกุปฺยสิ๚ ๕๓๚

มยฺยปฺรสาโท โย’นฺเยษํา ส มํา กิํ ภกฺษยิษฺยติฯ

อิห ชนฺมานฺตเร วาปิ เยนาเสา เม’นภีปฺสิตะ๚ ๕๔๚

ลาภานฺตรายการิตฺวาทฺ ยทฺยเสา เม’นภีปฺสิตะฯ

นงฺกฺษฺยตีไหว เม ลาภะ ปาปํ ตุ สฺถาสฺยติ ธฺรุวมฺ๚ ๕๕๚

วรมทฺไยว เม มฤตฺยุรฺน มิถฺยาชีวิตํ จิรมฺฯ

ยสฺมาจฺจิรมปิ สฺถิตฺวา มฤตฺยุทุะขํ ตเทว เม๚ ๕๖๚

สฺวปฺเน วรฺษศตํ เสาขฺยํ ภุกฺตฺวา ยศฺจ วิพุธฺยเตฯ

มุหูรฺตมปโร ยศฺจ สุขี ภูตฺวา วิพุธฺยเต๚ ๕๗๚

นนุ (นูนํ ?) นิวรฺตเต เสาขฺยํ ทฺวโยรปิ วิพุทฺธโยะฯ

ไสโวปมา มฤตฺยุกาเล จิรชีวฺยลฺปชีวิโนะ๚ ๕๘๚

ลพฺธฺวาปิ จ พหูํลฺลาภานฺ จิรํ ภุกฺตฺวา สุขานฺยปิฯ

ริกฺตหสฺตศฺจ นคฺนศฺจ ยาสฺยามิ มุษิโต ยถา๚ ๕๙๚

ปาปกฺษยํ จ ปุณฺยํ จ ลาภาชฺชีวนฺ กโรมิ เจตฺฯ

ปุณฺยกฺษยศฺจ ปาปํ จ ลาภารฺถํ กฺรุธฺยโต นนุ๚ ๖๐๚

ยทรฺถเมว ชีวามิ ตเทว ยทิ นศฺยติฯ

กิํ เตน ชีวิเตนาปิ เกวลาศุภการิณา๚ ๖๑๚

อวรฺณวาทินิ ทฺเวษะ สตฺตฺวานฺนาศยตีติ เจตฺฯ

ปรายศสฺกเร’ปฺเยวํ โกปสฺเต กิํ น ชายเต๚ ๖๒๚

ปรายตฺตาปฺรสาทตฺวาทปฺรสาทิษุ เต กฺษมาฯ

เกฺลศาตฺปาทปรายตฺเต กฺษมา นาวรฺณวาทินิ๚ ๖๓๚

ปฺรติมาสฺตูปสทฺธรฺมนาศกาโกฺรศเกษุ จฯ

น ยุชฺยเต มม ทฺเวโษ พุทฺธาทีนํา น หิ วฺยถา๚ ๖๔๚

คุรุสาโลหิตาทีนํา ปฺริยาณํา จาปการิษุฯ

ปูรฺววตฺปฺรตฺยโยตฺปาทํ ทฤษฺฏฺวา โกปํ นิวารเยตฺ๚ ๖๕๚

เจตนาเจตนกฤตา เทหินํา นิยตา วฺยถาฯ

สา วฺยถา เจตเน ทฤษฺฏา กฺษมสฺไวนํา วฺยถามตะ๚ ๖๖๚

โมหาเทเก’ปราธฺยนฺติ กุปฺยนฺตฺยนฺเย วิโมหิตาะฯ

พฺรูมะ กเมษุ นิรฺโทษํ กํ วา พฺรูโม’ปราธินมฺ๚ ๖๗๚

กสฺมาเทวํ กฤตํ ปูรฺวํ เยไนวํ พาธฺยเส ปไระฯ

สรฺเว กรฺมปรายตฺตาะ โก’หมตฺรานฺยถากฤเตา๚ ๖๘๚

เอวํ พุทฺธฺวา ตุ ปุณฺเยษุ ตถา ยตฺนํ กโรมฺยหมฺฯ

เยน สรฺเว ภวิษฺยนฺติ ไมตฺรจิตฺตาะ ปรสฺปรมฺ๚ ๖๙๚

ทหฺยมาเน คฤเห ยทฺวทคฺนิรฺคตฺวา คฤหานฺตรมฺฯ

ตฤณาเทา ยตฺร สชฺเยต ตทากฤษฺยาปนียเต๚ ๗๐๚

เอวํ จิตฺตํ ยทาสงฺคาทฺทหฺยเต ทฺเวษวหฺนินาฯ

ตตฺกฺษณํ ตตฺปริตฺยาชฺยํ ปุณฺยาตฺโมทฺทาหศงฺกยา๚ ๗๑๚

มารณียะ กรํ ฉิตฺตฺวา มุกฺตศฺเจตฺกิมภทฺรกมฺฯ

มนุษฺยทุะไขรฺนรกานฺมุกฺตศฺเจตฺกิมภทฺรกมฺ๚ ๗๒๚

ยทฺเยตนฺมาตฺรเมวาทฺย ทุะขํ โสฒุํ น ปารฺยเตฯ

ตนฺนารกวฺยถาเหตุะ โกฺรธะ กสฺมานฺน วารฺยเต๚ ๗๓๚

โกปารฺถเมวเมวาหํ นรเกษุ สหสฺรศะฯ

การิโต’สฺมิ น จาตฺมารฺถะ ปรารฺโถ วา กฤโต มยา๚ ๗๔๚

น เจทํ ตาทฤศํ ทุะขํ มหารฺถํ จ กริษฺยติฯ

ชคทฺทุะขหเร ทุะเข ปฺรีติเรวาตฺร ยุชฺยเต๚ ๗๕๚

ยทิ ปฺรีติสุขํ ปฺราปฺตมนฺไยะ สฺตุตฺวา คุโณรฺชิตมฺฯ

มนสฺตฺวมปิ ตํ สฺตุตฺวา กสฺมาเทวํ น หฤษฺยสิ๚ ๗๖๚

อิทํ จ เต หฤษฺฏิสุขํ นิรวทฺยํ สุโขทยมฺฯ

น วาริตํ จ คุณิภิะ ปราวรฺชนมุตฺตมมฺ๚ ๗๗๚

ตสฺไยว สุขมิตฺเยวํ ตเวทํ ยทิ น ปฺริยมฺฯ

ภฤติทานาทิวิรเตรฺทฤษฺฏาทฤษฺฏํ หตํ ภเวตฺ๚ ๗๘๚

สฺวคุเณ กีรฺตฺยมาเน จ ปรเสาขฺยมปีจฺฉสิฯ

กีรฺตฺยมาเน ปรคุเณ สฺวเสาขฺยมปิ เนจฺฉสิ๚ ๗๙๚

โพธิจิตฺตํ สมุตฺปาทฺย สรฺวสตฺตฺวสุเขจฺฉยาฯ

สฺวยํ ลพฺธสุเขษฺวทฺย กสฺมาตฺสตฺตฺเวษุ กุปฺยสิ๚ ๘๐๚

ไตฺโรลกฺยปูชฺยํ พุทฺธตฺวํ สตฺตฺวานํา กิล วาญฺฉสิฯ

สตฺการมิตฺวรํ ทฤษฺฏฺวา เตษํา กิํ ปริทหฺยเส๚ ๘๑๚

ปุษฺณาติ ยสฺตฺวยา โปษฺยํ ตุภฺยเมว ททาติ สะฯ

กุฏุมฺพชีวินํ ลพฺธฺวา น หฤษฺยสิ ปฺรกุปฺยสิ๚ ๘๒๚

ส กิํ เนจฺฉสิ สตฺตฺวานํา ยสฺเตษํา โพธิมิจฺฉติฯ

โพธิจิตฺตํ กุตสฺตสฺย โย’นฺยสํปทิ กุปฺยติ๚ ๘๖๚

ยทิ เตน น ตลฺลพฺธํ สฺถิตํ ทานปเตรฺคฤเหฯ

สรฺวถาปิ น ตตฺเต’สฺติ ทตฺตาทตฺเตน เตน กิมฺ๚ ๘๔๚

กิํ วารยตุ ปุณฺยานิ ปฺรสนฺนานฺ สฺวคุณานถฯ

ลภมาโน น คฤหฺณาตุ วท เกน น กุปฺยสิ๚ ๘๕๚

น เกวลํ ตฺวมาตฺมานํ กฤตปาปํ น โศจสิฯ

กฤตปุณฺไยะ สห สฺปรฺธามปไระ กรฺตุมิจฺฉสิ๚ ๘๖๚

ชาตํ เจทปฺริยํ ศโตฺรสฺตฺวตฺตุษฺฏฺยา กิํ ปุนรฺภเวตฺฯ

ตฺวทาศํสนมาเตฺรณ น จาเหตุรฺภวิษฺยติ๚ ๘๗๚

อถ ตฺวทิจฺฉยา สิทฺธํ ตทฺทุะเข กิํ สุขํ ตวฯ

อถาปฺยรฺโถ ภเวเทวมนรฺถะ โก นฺวตะ ประ๚ ๘๘๚

เอตทฺธิ พฑิศํ โฆรํ เกฺลศพาฑิศิการฺปิตมฺฯ

ยโต นรกปาลาสฺตฺวํา กฺรีตฺวา ปกฺษฺยนฺติ กุมฺภิษุ๚ ๘๙๚

สฺตุติรฺยโศ’ถ สตฺกาโร น ปุณฺยาย น จายุเษฯ

น พลารฺถํ น จาโรคฺเย น จ กายสุขาย เม๚ ๙๐๚

เอตาวําศฺจ ภเวตฺสฺวารฺโถ ธีมตะ สฺวารฺถเวทินะฯ

มทฺยทฺยูตาทิ เสวฺยํ สฺยานฺมานสํ สุขมิจฺฉตา๚ ๙๑๚

ยโศรฺถํ หารยนฺตฺยรฺถมาตฺมานํ มารยนฺตฺยปิฯ

กิมกฺษราณิ ภกฺษฺยาณิ มฤเต กสฺย จ ตตฺสุขมฺ๚ ๙๒๚

ยถา ปําศุคฤเห ภินฺเน โรทิตฺยารฺตรวํ ศิศุะฯ

ตถา สฺตุติยโศหาเนา สฺวจิตฺตํ ปฺรติภาติ เม๚ ๙๓๚

ศพฺทสฺตาวทจิตฺตตฺวาตฺ ส มํา สฺเตาตีตฺยสํภวะฯ

ประ กิล มยิ ปฺรีต อิตฺเยตตฺปฺรีติการณมฺ๚ ๙๔๚

อนฺยตฺร มยิ วา ปฺรีตฺยา กิํ หิ เม ปรกียยาฯ

ตสฺไยว ตตฺปฺรีติสุขํ ภาโค นาลฺโป’ปิ เม ตตะ๚ ๙๕๚

ตตฺสุเขน สุขิตฺวํ เจตฺสรฺวไตฺรว มมาสฺตุ ตตฺฯ

กสฺมาทนฺยปฺรสาเทน สุขิเตษุ น เม สุขมฺ๚ ๙๖๚

ตสฺมาทหํ สฺตุโต’สฺมีติ ปฺรีติราตฺมนิ ชายเตฯ

ตตฺราปฺเยวมสํพนฺธาตฺ เกวลํ ศิศุเจษฺฏิตมฺ๚ ๙๗๚

สฺตุตฺยาทยศฺจ เม เกฺษมํ สํเวคํ นาศยนฺตฺยมีฯ

คุณวตฺสุ จ มาตฺสรฺยํ สํปตฺโกปํ จ กุรฺวเต๚ ๙๘๚

ตสฺมาตฺสฺตุตฺยาทิฆาตาย มม เย ปฺรตฺยุปสฺถิตาะฯ

อปายปาตรกฺษารฺถํ ปฺรวฤตฺตา นนุ เต มม๚ ๙๙๚

มุกฺตฺยรฺถินศฺจายุกฺตํ เม ลาภสตฺการพนฺธนมฺฯ

เย โมจยนฺติ มํา พนฺธาทฺทฺเวษสฺเตษุ กถํ มม๚ ๑๐๐๚

ทุะขํ ปฺรเวษฺฏุกามสฺย เย กปาฏตฺวมาคตาะฯ

พุทฺธาธิษฺฐานต อิว ทฺเวษสฺเตษุ กถํ มม๚ ๑๐๑๚

ปุณฺยวิฆฺนะ กฤโต’เนเนตฺยตฺร โกโป น ยุชฺยเตฯ

กฺษานฺตฺยา สมํ ตโป นาสฺติ นนฺเวตตฺตทุปสฺถิตมฺ๚ ๑๐๒๚

อถาหมาตฺมโทเษณ น กโรมิ กฺษมามิหฯ

มไยวาตฺร กฤโต วิฆฺนะ ปุณฺยเหตาวุปสฺถิเต๚ ๑๐๓๚

โย หิ เยน วินา นาสฺติ ยสฺมิํศฺจ สติ วิทฺยเตฯ

ส เอว การณํ ตสฺย ส กถํ วิฆฺน อุจฺยเต๚ ๑๐๔๚

น หิ กาโลปปนฺเนน ทานวิฆฺนะ กฤโต’รฺถินาฯ

น จ ปฺรวฺราชเก ปฺราปฺเต ปฺรวฺรชฺยาวิฆฺน อุจฺยเต๚ ๑๐๕๚

สุลภา ยาจกา โลเก ทุรฺลภาสฺตฺวปการิณะฯ

ยโต เม’นปราธสฺย น กศฺจิทปราธฺยติ๚ ๑๐๖๚

อศฺรโมปารฺชิตสฺตสฺมาทฺคฤเห นิธิริโวตฺถิตะฯ

โพธิจรฺยาสหายตฺวาตฺ สฺปฤหณีโย ริปุรฺมม๚ ๑๐๗๚

มยา จาเนน โจปาตฺตํ ตสฺมาเทตตฺ กฺษมาผลมฺฯ

เอตสฺไม ปฺรถมํ เทยเมตตฺปูรฺวา กฺษมา ยตะ๚ ๑๐๘๚

กฺษมาสิทฺธฺยาศโย นาสฺย เตน ปูชฺโย น เจทริะฯ

สิทฺธิเหตุรจิตฺโต’ปิ สทฺธรฺมะ ปูชฺยเต กถมฺ๚ ๑๐๙๚

อปการาศโย’สฺเยติ ศตฺรุรฺยทิ น ปูชฺยเตฯ

อนฺยถา เม กถํ กฺษานฺติรฺภิษชีว หิโตทฺยเต๚ ๑๑๐๚

ตทฺทุษฺฏาศยเมวาตะ ปฺรตีตฺโยตฺปทฺยเต กฺษมาฯ

ส เอวาตะ กฺษมาเหตุะ ปูชฺยะ สทฺธรฺมวนฺมยา๚ ๑๑๑๚

สตฺตฺวเกฺษตฺรํ ชินเกฺษตฺรมิตฺยโต มุนิโนทิตมฺฯ

เอตานาราธฺย พหวะ สํปตฺปารํ ยโต คตาะ๚ ๑๑๒๚

สตฺตฺเวภฺยศฺจ ชิเนภฺยศฺจ พุทฺธธรฺมาคเม สเมฯ

ชิเนษุ เคารวํ ยทฺวนฺน สตฺตฺเวษฺวิติ กะ กฺรมะ๚ ๑๑๓๚

อาศยสฺย จ มาหาตฺมฺยํ น สฺวตะ กิํ ตุ การฺยตะฯ

สมํ จ เตน มาหาตฺมฺยํ สตฺตฺวานํา เตน เต สมาะ๚ ๑๑๔๚

ไมตฺรฺยาศยศฺจ ยตฺปูชฺยะ สตฺตฺวมาหาตฺมฺยเมว ตตฺฯ

พุทฺธปฺรสาทาทฺยตฺปุณฺยํ พุทฺธมาหาตฺมฺยเมว ตตฺ๚ ๑๑๕๚

พุทฺธธรฺมาคมําเศน ตสฺมาตฺสตฺตฺวา ชิไนะ สมาะฯ

น ตุ พุทฺไธะ สมาะ เกจิทนนฺตําไศรฺคุณารฺณไวะ๚ ๑๑๖๚

คุณสาไรกราศีนํา คุโณ’ณุรปิ เจตฺกฺวจิตฺฯ

ทฤศฺยเต ตสฺย ปูชารฺถํ ไตฺโรลกฺยมปิ น กฺษมมฺ๚ ๑๑๗๚

พุทฺธธรฺโมทยําศสฺตุ เศฺรษฺฐะ สตฺตฺเวษุ วิทฺยเตฯ

เอตทํศานุรูปฺเยณ สตฺตฺวปูชา กฤตา ภเวตฺ๚ ๑๑๘๚

กิํ จ นิศฺฉทฺมพนฺธูนามปฺรเมโยปการิณามฺฯ

สตฺตฺวาราธนมุตฺสฤชฺย นิษฺกฤติะ กา ปรา ภเวตฺ๚ ๑๑๙๚

ภินฺทนฺติ เทหํ ปฺรวิศนฺตฺยวีจิํ

เยษํา กฤเต ตตฺร กฤเต กฤตํ สฺยาตฺฯ

มหาปการิษฺวปิ เตน สรฺวํ

กลฺยาณเมวาจรณียเมษุ๚ ๑๒๐๚

สฺวยํ มม สฺวามิน เอว ตาวทฺ

ยทรฺถมาตฺมนฺยปิ นิรฺวฺยเปกฺษาะฯ

อหํ กถํ สฺวามิษุ เตษุ เตษุ

กโรมิ มานํ น ตุ ทาสภาวมฺ๚ ๑๒๑๚

เยษํา สุเข ยานฺติ มุทํ มุนีนฺทฺราะ

เยษํา วฺยถายํา ปฺรวิศนฺติ มนฺยุมฺฯ

ตตฺโตษณาตฺสรฺวมุนีนฺทฺรตุษฺฏิ –

สฺตตฺราปกาเร’ปกฤตํ มุนีนามฺ๚ ๑๒๒๚

อาทีปฺตกายสฺย ยถา สมนฺตา-

นฺน สรฺวกาไมรปิ เสามนสฺยมฺฯ

สตฺตฺววฺยถายามปิ ตทฺวเทว

น ปฺรีตฺยุปาโย’สฺติ ทยามยานามฺ๚ ๑๒๓๚

ตสฺมานฺมยา ยชฺชนทุะขเทน

ทุะขํ กฤตํ สรฺวมหากฤปาณามฺฯ

ตททฺย ปาปํ ปฺรติเทศยามิ

ยตฺเขทิตาสฺตนฺมุนยะ กฺษมนฺตามฺ๚ ๑๒๔๚

อาราธนายาทฺย ตถาคตานํา

สรฺวาตฺมนา ทาสฺยมุไปมิ โลเกฯ

กุรฺวนฺตุ เม มูรฺฆฺนิ ปทํ ชเนาฆา

วิฆฺนนฺตุ วา ตุษฺยตุ โลกนาถะ๚ ๑๒๕๚

อาตฺมีกฤตํ สรฺวมิทํ ชคตฺไตะฯ

กฤปาตฺมภิรฺไนว หิ สํศโย’สฺติฯ

ทฤศฺยนฺต เอเต นนุ สตฺตฺวรูปา-

สฺต เอว นาถาะ กิมนาทโร’ตฺร๚ ๑๒๖๚

ตถาคตาราธนเมตเทว

สฺวารฺถสฺย สํสาธนเมตเทวฯ

โลกสฺย ทุะขาปหเมตเทว

ตสฺมานฺมมาสฺตุ วฺรตเมตเทว๚ ๑๒๗๚

ยไถโก ราชปุรุษะ ปฺรมนฺถาติ มหาชนมฺฯ

วิกรฺตุํ ไนว ศกฺโนติ ทีรฺฆทรฺศี มหาชนะ๚ ๑๒๘๚

ยสฺมานฺไนว ส เอกากี ตสฺย ราชพลํ พลมฺฯ

ตถา น ทุรฺพลํ กํจิทปราทฺธํ วิมานเยตฺ๚ ๑๒๙๚

ยสฺมานฺนรกปาลาศฺจ กฤปาวนฺตศฺจ ตทฺพลมฺฯ

ตสฺมาทาราธเยตฺสตฺตฺวานฺ ภฤตฺยศฺจณฺฑนฤปํ ยถา๚ ๑๓๐๚

กุปิตะ กิํ นฤปะ กุรฺยาทฺเยน สฺยานฺนรกวฺยถาฯ

ยตฺสตฺตฺวเทารฺมนสฺเยน กฤเตน หฺยนุภูยเต๚ ๑๓๑๚

ตุษฺฏะ กิํ นฤปติรฺททฺยาทฺยทฺพุทฺธตฺวสมํ ภเวตฺฯ

ยตฺสตฺตฺวเสามนสฺเยน กฤเตน หฺยนุภูยเต๚ ๑๓๒๚

อาสฺตํา ภวิษฺยทฺพุทฺธตฺวํ สตฺตฺวาราธนสํภวมฺฯ

อิไหว เสาภาคฺยยศะเสาสฺถิตฺยํ กิํ น ปศฺยสิ๚ ๑๓๓๚

ปฺราสาทิกตฺวมาโรคฺยํ ปฺราโมทฺยํ จิรชีวิตมฺฯ

จกฺรวรฺติสุขํ สฺผีตํ กฺษมี ปฺราปฺโนติ สํสรนฺ๚ ๑๓๔๚

อิติ กฺษานฺติปารมิตา นาม ษษฺฐะ ปริจฺเฉทะ๚

ปริวรรตเป็นไทยปรับรูป(สำหรับบุคคลทั่วไป)

๖ กษานติปาระมิตา นามะ ษัษฐะห์ ปะริจเฉทะห์ฯ

สรรวะเมตัตสุจะริตัม ทานัม สุคะตะปูชะนัมฯ

กฤตัม กัลปะสะหัไสรรยัตประติฆะห์ ประติหันติ ตัต๚ ๑๚

นะ จะ ทเวษะสะมัม ปาปัม นะ จะ กษานติสะมัม ตะปะห์ฯ

ตัสมาตกษานติม ประยัตเนนะ ภาวะเยทวิวิไธรนะไยห์๚ ๒๚

มะนะห์ ศะมัม นะ คฤหณาติ นะ ปรีติสุขะมัศนุเตฯ

นะ นิทราม นะ ธฤติม ยาติ ทเวษะศัลเย หฤทิ สถิเต๚ ๓๚

ปูชะยัตยรรถะมาไนรยาน เยปิ ไจนัม สะมาศริตาห์ฯ

เตปเยนัม หันตุมิจฉันติ สวามินัม ทเวษะทุรภะคัม๚ ๔๚

สุหฤโทปยุทวิชันเตสมาท ทะทาติ นะ จะ เสวยะเตฯ

สังกเษปานนาสติ ตัตกิญจิต โกรธะโน เยนะ สุสถิตะห์๚ ๕๚

เอวะมาทีนิ ทุห์ขานิ กะโรตีตยะริสัญชญะยาฯ

ยะห์ โกรธัม หันติ นิรพันธาต สะ สุขีหะ ปะระตระ จะ๚ ๖๚

อะนิษฏะกะระณาชชาตะมิษฏัสยะ จะ วิฆาตะนาตฯ

เทารมะนัสยาศะนัม ปราปยะ ทเวโษ ทฤปโต นิหันติ มาม๚ ๗๚

ตัสมาทวิฆาตะยิษยามิ ตัสยาศะนะมะหัม ริโปห์ฯ

ยัสมานนะ มัทวะธาทันยัตกฤตยะมัสยาสติ ไวริณะห์๚ ๘๚

อัตยะนิษฏาคะเมนาปิ นะ กโษภยา มุทิตา มะยาฯ

เทารมะนัสเยปิ นาสตีษฏัม กุศะลัม ตวะวะหียะเต๚ ๙๚

ยัทยัสตเยวะ ประตีกาโร เทารมะนัสเยนะ ตะตระ กิมฯ

อะถะ นาสติ ประตีกาโร เทารมะนัสเยนะ ตะตระ กิม๚ ๑๐๚

ทุห์ขัม นยักการะปารุษยะมะยะศัศเจตยะนีปสิตัมฯ

ปริยาณามาตมะโน วาปิ ศะโตรศไจตัทวิปรรยะยาต๚ ๑๑๚

กะถัญจิลลัภยะเต เสาขยัม ทุห์ขัม สถิตะมะยัตนะตะห์ฯ

ทุห์เขไนวะ จะ นิห์สาระห์ เจตัสตัสมาท ทฤฒีภะวะ๚ ๑๒๚

ทุรคาปุตระกะกรรณาฏา ทาหัจเฉทาทิเวทะนามฯ

วฤถา สะหันเต มุกตยรรถะมะหัม กัสมาตตุ กาตะระห์๚ ๑๓๚

นะ กิญจิทัสติ ตัทวัสตุ ยะทัภยาสัสยะ ทุษกะรัมฯ

ตัสมานมฤทุวยะถาภยาสาต โสฒะวยาปิ มะหาวยะถา๚ ๑๔๚

อุททัมศะทัมศะมะศะกักษุตปิปาสาทิเวทะนามฯ

มะหัตกัณฑวาทิทุห์ขัม จะ กิมะนรรถัม นะ ปัศยะสิ๚ ๑๕๚

ศีโตษณะวฤษฏิวาตาธวะวยาธิพันธะนะตาฑะไนห์ฯ

เสากุมารยัม นะ กรรตะวยะมันยะถา วรรธะเต วยะถา๚ ๑๖๚

เกจิตสวะโศณิตัม ทฤษฏวา วิกระมันเต วิเศษะตะห์ฯ

ปะระโศณิตะมัปเยเก ทฤษฏวา มูรจฉาม วระชันติ ยัต๚ ๑๗๚

ตัจจิตตัสยะ ทฤฒัตเวนะ กาตะรัตเวนะ จาคะตัมฯ

ทุห์ขะทุรโยธะนัสตัสมาทภะเวทะภิภะเวทวยะถาม๚ ๑๘๚

ทุห์เขปิ ไนวะ จิตตัสยะ ประสาทัม กโษภะเยท พุธะห์ฯ

สังคราโม หิ สะหะ เกลไศรยุทเธ จะ สุละภา วยะถา๚ ๑๙๚

อุระสาราติฆาตาน เย ประตีจฉันโต ชะยันตยะรีนฯ

เต เต วิชะยินะห์ ศูราห์ เศษาสตุ มฤตะมาระกาห์๚ ๒๐๚

คุโณปะรัศจะ ทุห์ขัสยะ ยัตสัมเวคานมะทัจยุติห์ฯ

สัมสาริษุ จะ การุณยัม ปาปาทภีติรชิเน สปฤหา๚ ๒๑๚

ปิตตาทิษุ นะ เม โกโป มะหาทุห์ขะกะเรษวะปิฯ

สะเจตะเนษุ กิม โกปะห์ เตปิ ปรัตยะยะโกปิตาห์๚ ๒๒๚

อะนิษยะมาณะมัปเยตัจฉูละมุตปัทยะเต ยะถาฯ

อะนิษยะมาโณปิ พะลาตโกรธะ อุตปัทยะเต ตะถา๚ ๒๓๚

กุปยามีติ นะ สัญจินตยะ กุปยะติ สเวจฉะยา ชะนะห์ฯ

อุตปัตสยะ อิตยะภิเปรตยะ โกรธะ อุตปัทยะเต นะ จะ๚ ๒๔๚

เย เกจิทะปะราธาศจะ ปาปานิ วิวิธานิ จะฯ

สรรวัม ตัตปรัตยะยะพะลาต สวะตันตรัม ตุ นะ วิทยะเต๚ ๒๕๚

นะ จะ ปรัตยะยะสามัครยา ชะนะยามีติ เจตะนาฯ

นะ จาปิ ชะนิตัสยาสติ ชะนิโตสมีติ เจตะนา๚ ๒๖๚

ยัตประธานัม กิลาภีษฏัม ยัตตะทาตเมติ กัลปิตัมฯ

ตะเทวะ หิ ภะวาภีติ นะ สัญจินตโยปะชายะเต๚ ๒๗๚

อะนุตปันนัม หิ ตันนาสติ กะ อิจเฉทภะวิตุม ตะทาฯ

วิษะยะวยาปฤตัตวาจจะ นิโรทธุมะปิ เนหะเต๚ ๒๘๚

นิตโย หยะเจตะนัศจาตมา วโยมะวัต สผุฏะมะกริยะห์ฯ

ปรัตยะยานตะระสังเคปิ นิรวิการัสยะ กา กริยา๚ ๒๙๚

ยะห์ ปูรวะวัต กริยากาเล กริยายาสเตนะ กิม กฤตัมฯ

ตัสยะ กริเยติ สัมพันเธ กะตะรัตตันนิพันธะนัม๚ ๓๐๚

เอวัม ปะระวะศัม สรรวัม ยัทวะศัม โสปิ จาวะศะห์ฯ

นิรมาณะวะทะเจษเฏษุ ภาเวษเววัม กวะ กุปยะเต๚ ๓๑๚

วาระณาปิ นะ ยุกไตวัม กะห์ กิม วาระยะตีติ เจตฯ

ยุกตา ประตีตยะตา ยัสมาททุห์ขัสโยปะระติรมะตา๚ ๓๒๚

ตัสมาทะมิตรัม มิตรัม วา ทฤษฏวาปยันยายะการิณัมฯ

อีทฤศาห์ ปรัตยะยา อัสเยตเยวัม มัตวา สุขี ภะเวต๚ ๓๓๚

ยะทิ ตุ สเวจฉะยา สิทธิห์ สรรเวษาเมวะ เทหินามฯ

นะ ภะเวตกัสยะจิททุห์ขัม นะ ทุห์ขัม กัศจิทิจฉะติ๚ ๓๔๚

ประมาทาทาตมะนาตมานัม พาธันเต กัณฏะกาทิภิห์ฯ

ภักตัจเฉทาทิภิห์ โกปาททุราปัสตรยาทิลิปสะยา๚ ๓๕๚

อุทพันธะนะประปาไตศจะ วิษาปัถยาทิภักษะไณห์ฯ

นิฆนันติ เกจิทาตมานะปุณยาจะระเณนะ จะ๚ ๓๖๚

ยะไทวัม เกลศะวัศยะวาท ฆนันตยาตมานะมะปิ ปริยัมฯ

ตะไทษาม ปะระกาเยษุ ปะริหาระห์ กะถัม ภะเวต๚ ๓๗๚

เกลโศนมัตตีกฤเตษเวษุ ประวฤตเตษวาตมะฆาตะเนฯ

นะ เกวะลัม ทะยา นาสติ โกรธะ อุตปัทยะเต กะถัม๚ ๓๘๚

ยะทิ สวะภาโว พาลานาม ปะโรปะทระวะการิตาฯ

เตษุ โกโป นะ ยุกโต เม ยะถาคเนา ทะหะนาตมะเก๚ ๓๙๚

อะถะ โทโษยะมาคันตุห์ สัตตวาห์ ประกฤติเปศะลาห์ฯ

ตะถาปยะยุกตัสตัตโกปะห์ กะฏุธูเม ยะถามพะเร๚ ๔๐๚

มุขยัม ทัณฑาทิกัม หิตวา เปรระเก ยะทิ กุปยะเตฯ

ทเวเษณะ เปรริตะห์ โสปิ ทเวเษ ทเวโษสตุ เม วะรัม๚ ๔๑๚

มะยาปิ ปูรวัม สัตตวานามีทฤศเยวะ วยะถา กฤตาฯ

ตัสมานเม ยุกตะเมไวตัตสัตตโวปะทระวะการิณะห์๚ ๔๒๚

ตัจฉัสตรัม มะมะ กายัศจะ ทวะยัม ทุห์ขัสยะ การะณัมฯ

เตนะ ศัสตรัม มะยา กาโย คฤหีตะห์ กุตระ กุปยะเต๚ ๔๓๚

คัณโฑยัม ประติมากาโร คฤหีโต ฆัฏฏะนาสะหะห์ฯ

ตฤษณานเธนะ มะยา ตะตระ วยะถายาม กุตระ กุปยะเต๚ ๔๔๚

ทุห์ขัม เนจฉามิ ทุห์ขัสยะ เหตุมิจฉามิ พาลิศะห์ฯ

สวาปะราธาคะเต ทุห์เข กัสมาทันยะตระ กุปยะเต๚ ๔๕๚

อะสิปะตระวะนัม ยัทวัทยะถา นาระกะปักษิณะห์ฯ

มัตกรรมะชะนิตา เอวะ ตะเถทัม กุตระ กุปยะเต๚ ๔๖๚

มัตกรรมะโจทิตา เอวะ ชาตา มัยยะปะการิณะห์ฯ

เยนะ ยาสยันติ นะระกานมะไยวามี หะตา นะนุ๚ ๔๗๚

เอตานาศริตยะ เม ปาปัม กษียะเต กษะมะโต พะหุฯ

มามาศริตยะ ตุ ยานตเยเต นะระกาน ทีรฆะเวทะนาน๚ ๔๘๚

อะหะเมวาปะการเยษาม มะไมเต โจปะการิณะห์ฯ

กัสมาทวิปรรยะยัม กฤตวา ขะละเจตะห์ ประกุปยะสิ๚๔๙๚

ภะเวนมะมาศะยะคุโณ นะ ยามิ นะระกาน ยะทิฯ

เอษามะตระ กิมายาตัม ยัทยาตมา รักษิโต มะยา๚ ๕๐๚

อะถะ ปรัตยะปะการี สยาม ตะถาปเยเต นะ รักษิตาห์ฯ

หียะเต จาปิ เม จรรยา ตัสมานนัษฏาสตะปัสวินะห์๚ ๕๑๚

มะโน หันตุมะมูรตัตวานนะ ศักยัม เกนะจิตกวะจิตฯ

ศะรีราภินิเวศาตตุ จิตตัม ทุห์เขนะ พาธยะเต๚๕๒๚

นยักการะห์ ปะรุษัม วากยะมะยะศัศเจตยะยัม คะณะห์ฯ

กายัม นะ พาธะเต เตนะ เจตะห์ กัสมาตประกุปยะสิ๚ ๕๓๚

มัยยะประสาโท โยนเยษาม สะ มาม กิม ภักษะยิษยะติฯ

อิหะ ชันมานตะเร วาปิ เยนาเสา เมนะภีปสิตะห์๚ ๕๔๚

ลาภานตะรายะการิตวาท ยัทยะเสา เมนะภีปสิตะห์ฯ

นังกษยะตีไหวะ เม ลาภะห์ ปาปัม ตุ สถาสยะติ ธรุวัม๚ ๕๕๚

วะระมัทไยวะ เม มฤตยุรนะ มิถยาชีวิตัม จิรัมฯ

ยัสมาจจิระมะปิ สถิตวา มฤตยุทุห์ขัม ตะเทวะ เม๚ ๕๖๚

สวัปเน วรรษะศะตัม เสาขยัม ภุกตวา ยัศจะ วิพุธยะเตฯ

มุหูรตะมะปะโร ยัศจะ สุขี ภูตวา วิพุธยะเต๚ ๕๗๚

นะนุ (นูนัม ?) นิวรรตะเต เสาขยัม ทวะโยระปิ วิพุทธะโยห์ฯ

ไสโวปะมา มฤตยุกาเล จิระชีวยัลปะชีวิโนห์๚ ๕๘๚

ลัพธวาปิ จะ พะหูมลลาภาน จิรัม ภุกตวา สุขานยะปิฯ

ริกตะหัสตัศจะ นัคนัศจะ ยาสยามิ มุษิโต ยะถา๚ ๕๙๚

ปาปักษะยัม จะ ปุณยัม จะ ลาภาชชีวัน กะโรมิ เจตฯ

ปุณยักษะยัศจะ ปาปัม จะ ลาภารถัม กรุธยะโต นะนุ๚ ๖๐๚

ยะทรรถะเมวะ ชีวามิ ตะเทวะ ยะทิ นัศยะติฯ

กิม เตนะ ชีวิเตนาปิ เกวะลาศุภะการิณา๚ ๖๑๚

อะวรรณะวาทินิ ทเวษะห์ สัตตวานนาศะยะตีติ เจตฯ

ปะรายะศัสกะเรปเยวัม โกปัสเต กิม นะ ชายะเต๚ ๖๒๚

ปะรายัตตาประสาทัตวาทะประสาทิษุ เต กษะมาฯ

เกลศาตปาทะปะรายัตเต กษะมา นาวรรณะวาทินิ๚ ๖๓๚

ประติมาสตูปะสัทธรรมะนาศะกาโกรศะเกษุ จะฯ

นะ ยุชยะเต มะมะ ทเวโษ พุทธาทีนาม นะ หิ วยะถา๚ ๖๔๚

คุรุสาโลหิตาทีนาม ปริยาณาม จาปะการิษุฯ

ปูรวะวัตปรัตยะโยตปาทัม ทฤษฏวา โกปัม นิวาระเยต๚ ๖๕๚

เจตะนาเจตะนะกฤตา เทหินาม นิยะตา วยะถาฯ

สา วยะถา เจตะเน ทฤษฏา กษะมัสไวนาม วยะถามะตะห์๚ ๖๖๚

โมหาเทเกปะราธยันติ กุปยันตยันเย วิโมหิตาห์ฯ

พรูมะห์ กะเมษุ นิรโทษัม กัม วา พรูโมปะราธินัม๚ ๖๗๚

กัสมาเทวัม กฤตัม ปูรวัม เยไนวัม พาธยะเส ปะไรห์ฯ

สรรเว กรรมะปะรายัตตาห์ โกหะมัตรานยะถากฤเตา๚ ๖๘๚

เอวัม พุทธวา ตุ ปุณเยษุ ตะถา ยัตนัม กะโรมยะหัมฯ

เยนะ สรรเว ภะวิษยันติ ไมตระจิตตาห์ ปะรัสปะรัม๚ ๖๙๚

ทหยะมาเน คฤเห ยัทวะทัคนิรคัตวา คฤหานตะรัมฯ

ตฤณาเทา ยะตระ สัชเยตะ ตะทากฤษยาปะนียะเต๚ ๗๐๚

เอวัม จิตตัม ยะทาสังคาททหยะเต ทเวษะวหนินาฯ

ตัตกษะณัม ตัตปะริตยาชยัม ปุณยาตโมททาหะศังกะยา๚ ๗๑๚

มาระณียะห์ กะรัม ฉิตตวา มุกตัศเจตกิมะภะทระกัมฯ

มะนุษยะทุห์ไขรนะระกานมุกตัศเจตกิมะภะทระกัม๚ ๗๒๚

ยัทเยตันมาตระเมวาทยะ ทุห์ขัม โสฒุม นะ ปารยะเตฯ

ตันนาระกะวยะถาเหตุห์ โกรธะห์ กัสมานนะ วารยะเต๚ ๗๓๚

โกปารถะเมวะเมวาหัม นะระเกษุ สะหะสระศะห์ฯ

การิโตสมิ นะ จาตมารถะห์ ปะรารโถ วา กฤโต มะยา๚ ๗๔๚

นะ เจทัม ตาทฤศัม ทุห์ขัม มะหารถัม จะ กะริษยะติฯ

ชะคัททุห์ขะหะเร ทุห์เข ปรีติเรวาตระ ยุชยะเต๚ ๗๕๚

ยะทิ ปรีติสุขัม ปราปตะมันไยห์ สตุตวา คุโณรชิตัมฯ

มะนัสตวะมะปิ ตัม สตุตวา กัสมาเทวัม นะ หฤษยะสิ๚ ๗๖๚

อิทัม จะ เต หฤษฏิสุขัม นิระวัทยัม สุโขทะยัมฯ

นะ วาริตัม จะ คุณิภิห์ ปะราวรรชะนะมุตตะมัม๚ ๗๗๚

ตัสไยวะ สุขะมิตเยวัม ตะเวทัม ยะทิ นะ ปริยัมฯ

ภฤติทานาทิวิระเตรทฤษฏาทฤษฏัม หะตัม ภะเวต๚ ๗๘๚

สวะคุเณ กีรตยะมาเน จะ ปะระเสาขยะมะปีจฉะสิฯ

กีรตยะมาเน ปะระคุเณ สวะเสาขยะมะปิ เนจฉะสิ๚ ๗๙๚

โพธิจิตตัม สะมุตปาทยะ สรรวะสัตตวะสุเขจฉะยาฯ

สวะยัม ลัพธะสุเขษวัทยะ กัสมาตสัตตเวษุ กุปยะสิ๚ ๘๐๚

ไตโรลกยะปูชยัม พุทธัตวัม สัตตวานาม กิละ วาญฉะสิฯ

สัตการะมิตวะรัม ทฤษฏวา เตษาม กิม ปะริทหยะเส๚ ๘๑๚

ปุษณาติ ยัสตวะยา โปษยัม ตุภยะเมวะ ทะทาติ สะห์ฯ

กุฏุมพะชีวินัม ลัพธวา นะ หฤษยะสิ ประกุปยะสิ๚ ๘๒๚

สะ กิม เนจฉะสิ สัตตวานาม ยัสเตษาม โพธิมิจฉะติฯ

โพธิจิตตัม กุตัสตัสยะ โยนยะสัมปะทิ กุปยะติ๚ ๘๖๚

ยะทิ เตนะ นะ ตัลลัพธัม สถิตัม ทานะปะเตรคฤเหฯ

สรรวะถาปิ นะ ตัตเตสติ ทัตตาทัตเตนะ เตนะ กิม๚ ๘๔๚

กิม วาระยะตุ ปุณยานิ ประสันนาน สวะคุณานะถะฯ

ละภะมาโน นะ คฤหณาตุ วะทะ เกนะ นะ กุปยะสิ๚ ๘๕๚

นะ เกวะลัม ตวะมาตมานัม กฤตะปาปัม นะ โศจะสิฯ

กฤตะปุณไยห์ สะหะ สปรรธามะปะไรห์ กรรตุมิจฉะสิ๚ ๘๖๚

ชาตัม เจทะปริยัม ศะโตรสตวัตตุษฏยา กิม ปุนรรภะเวตฯ

ตวะทาศัมสะนะมาเตรณะ นะ จาเหตุรภะวิษยะติ๚ ๘๗๚

อะถะ ตวะทิจฉะยา สิทธัม ตัททุห์เข กิม สุขัม ตะวะฯ

อะถาปยรรโถ ภะเวเทวะมะนรรถะห์ โก นวะตะห์ ปะระห์๚ ๘๘๚

เอตัทธิ พะฑิศัม โฆรัม เกลศะพาฑิศิการปิตัมฯ

ยะโต นะระกะปาลาสตวาม กรีตวา ปักษยันติ กุมภิษุ๚ ๘๙๚

สตุติรยะโศถะ สัตกาโร นะ ปุณยายะ นะ จายุเษฯ

นะ พะลารถัม นะ จาโรคเย นะ จะ กายะสุขายะ เม๚ ๙๐๚

เอตาวามศจะ ภะเวตสวารโถ ธีมะตะห์ สวารถะเวทินะห์ฯ

มัทยัทยูตาทิ เสวยัม สยานมานะสัม สุขะมิจฉะตา๚ ๙๑๚

ยะโศรถัม หาระยันตยรรถะมาตมานัม มาระยันตยะปิฯ

กิมักษะราณิ ภักษยาณิ มฤเต กัสยะ จะ ตัตสุขัม๚ ๙๒๚

ยะถา ปามศุคฤเห ภินเน โรทิตยารตะระวัม ศิศุห์ฯ

ตะถา สตุติยะโศหาเนา สวะจิตตัม ประติภาติ เม๚ ๙๓๚

ศัพทัสตาวะทะจิตตัตวาต สะ มาม สเตาตีตยะสัมภะวะห์ฯ

ปะระห์ กิละ มะยิ ปรีตะ อิตเยตัตปรีติการะณัม๚ ๙๔๚

อันยะตระ มะยิ วา ปรีตยา กิม หิ เม ปะระกียะยาฯ

ตัสไยวะ ตัตปรีติสุขัม ภาโค นาลโปปิ เม ตะตะห์๚ ๙๕๚

ตัตสุเขนะ สุขิตวัม เจตสรรวะไตรวะ มะมาสตุ ตัตฯ

กัสมาทันยะประสาเทนะ สุขิเตษุ นะ เม สุขัม๚ ๙๖๚

ตัสมาทะหัม สตุโตสมีติ ปรีติราตมะนิ ชายะเตฯ

ตัตราปเยวะมะสัมพันธาต เกวะลัม ศิศุเจษฏิตัม๚ ๙๗๚

สตุตยาทะยัศจะ เม กเษมัม สัมเวคัม นาศะยันตยะมีฯ

คุณะวัตสุ จะ มาตสรรยัม สัมปัตโกปัม จะ กุรวะเต๚ ๙๘๚

ตัสมาตสตุตยาทิฆาตายะ มะมะ เย ปรัตยุปัสถิตาห์ฯ

อะปายะปาตะรักษารถัม ประวฤตตา นะนุ เต มะมะ๚ ๙๙๚

มุกตยรรถินัศจายุกตัม เม ลาภะสัตการะพันธะนัมฯ

เย โมจะยันติ มาม พันธาททเวษัสเตษุ กะถัม มะมะ๚ ๑๐๐๚

ทุห์ขัม ประเวษฏุกามัสยะ เย กะปาฏัตวะมาคะตาห์ฯ

พุทธาธิษฐานะตะ อิวะ ทเวษัสเตษุ กะถัม มะมะ๚ ๑๐๑๚

ปุณยะวิฆนะห์ กฤโตเนเนตยะตระ โกโป นะ ยุชยะเตฯ

กษานตยา สะมัม ตะโป นาสติ นันเวตัตตะทุปัสถิตัม๚ ๑๐๒๚

อะถาหะมาตมะโทเษณะ นะ กะโรมิ กษะมามิหะฯ

มะไยวาตระ กฤโต วิฆนะห์ ปุณยะเหตาวุปัสถิเต๚ ๑๐๓๚

โย หิ เยนะ วินา นาสติ ยัสมิมศจะ สะติ วิทยะเตฯ

สะ เอวะ การะณัม ตัสยะ สะ กะถัม วิฆนะ อุจยะเต๚ ๑๐๔๚

นะ หิ กาโลปะปันเนนะ ทานะวิฆนะห์ กฤโตรถินาฯ

นะ จะ ประวราชะเก ปราปเต ประวรัชยาวิฆนะ อุจยะเต๚ ๑๐๕๚

สุละภา ยาจะกา โลเก ทุรละภาสตวะปะการิณะห์ฯ

ยะโต เมนะปะราธัสยะ นะ กัศจิทะปะราธยะติ๚ ๑๐๖๚

อะศระโมปารชิตัสตัสมาทคฤเห นิธิริโวตถิตะห์ฯ

โพธิจรรยาสะหายัตวาต สปฤหะณีโย ริปุรมะมะ๚ ๑๐๗๚

มะยา จาเนนะ โจปาตตัม ตัสมาเทตัต กษะมาผะลัมฯ

เอตัสไม ประถะมัม เทยะเมตัตปูรวา กษะมา ยะตะห์๚ ๑๐๘๚

กษะมาสิทธยาศะโย นาสยะ เตนะ ปูชโย นะ เจทะริห์ฯ

สิทธิเหตุระจิตโตปิ สัทธรรมะห์ ปูชยะเต กะถัม๚ ๑๐๙๚

อะปะการาศะโยสเยติ ศัตรุรยะทิ นะ ปูชยะเตฯ

อันยะถา เม กะถัม กษานติรภิษะชีวะ หิโตทยะเต๚ ๑๑๐๚

ตัททุษฏาศะยะเมวาตะห์ ประตีตโยตปัทยะเต กษะมาฯ

สะ เอวาตะห์ กษะมาเหตุห์ ปูชยะห์ สัทธรรมะวันมะยา๚ ๑๑๑๚

สัตตวักเษตรัม ชินักเษตระมิตยะโต มุนิโนทิตัมฯ

เอตานาราธยะ พะหะวะห์ สัมปัตปารัม ยะโต คะตาห์๚ ๑๑๒๚

สัตตเวภยัศจะ ชิเนภยัศจะ พุทธะธรรมาคะเม สะเมฯ

ชิเนษุ เคาระวัม ยัทวันนะ สัตตเวษวิติ กะห์ กระมะห์๚ ๑๑๓๚

อาศะยัสยะ จะ มาหาตมยัม นะ สวะตะห์ กิม ตุ การยะตะห์ฯ

สะมัม จะ เตนะ มาหาตมยัม สัตตวานาม เตนะ เต สะมาห์๚ ๑๑๔๚

ไมตรยาศะยัศจะ ยัตปูชยะห์ สัตตวะมาหาตมยะเมวะ ตัตฯ

พุทธะประสาทาทยัตปุณยัม พุทธะมาหาตมยะเมวะ ตัต๚ ๑๑๕๚

พุทธะธรรมาคะมามเศนะ ตัสมาตสัตตวา ชิไนห์ สะมาห์ฯ

นะ ตุ พุทไธห์ สะมาห์ เกจิทะนันตามไศรคุณารณะไวห์๚ ๑๑๖๚

คุณะสาไรกะราศีนาม คุโณณุระปิ เจตกวะจิตฯ

ทฤศยะเต ตัสยะ ปูชารถัม ไตโรลกยะมะปิ นะ กษะมัม๚ ๑๑๗๚

พุทธะธรรโมทะยามศัสตุ เศรษฐะห์ สัตตเวษุ วิทยะเตฯ

เอตะทัมศานุรูปเยณะ สัตตวะปูชา กฤตา ภะเวต๚ ๑๑๘๚

กิม จะ นิศฉัทมะพันธูนามะประเมโยปะการิณามฯ

สัตตวาราธะนะมุตสฤชยะ นิษกฤติห์ กา ปะรา ภะเวต๚ ๑๑๙๚

ภินทันติ เทหัม ประวิศันตยะวีจิม

เยษาม กฤเต ตะตระ กฤเต กฤตัม สยาตฯ

มะหาปะการิษวะปิ เตนะ สรรวัม

กัลยาณะเมวาจะระณียะเมษุ๚ ๑๒๐๚

สวะยัม มะมะ สวามินะ เอวะ ตาวัท

ยะทรรถะมาตมันยะปิ นิรวยะเปกษาห์ฯ

อะหัม กะถัม สวามิษุ เตษุ เตษุ

กะโรมิ มานัม นะ ตุ ทาสะภาวัม๚ ๑๒๑๚

เยษาม สุเข ยานติ มุทัม มุนีนทราห์

เยษาม วยะถายาม ประวิศันติ มันยุมฯ

ตัตโตษะณาตสรรวะมุนีนทระตุษฏิ –

สตะตราปะกาเรปะกฤตัม มุนีนาม๚ ๑๒๒๚

อาทีปตะกายัสยะ ยะถา สะมันตา-

นนะ สรรวะกาไมระปิ เสามะนัสยัมฯ

สัตตวะวยะถายามะปิ ตัทวะเทวะ

นะ ปรีตยุปาโยสติ ทะยามะยานาม๚ ๑๒๓๚

ตัสมานมะยา ยัชชะนะทุห์ขะเทนะ

ทุห์ขัม กฤตัม สรรวะมะหากฤปาณามฯ

ตะทัทยะ ปาปัม ประติเทศะยามิ

ยัตเขทิตาสตันมุนะยะห์ กษะมันตาม๚ ๑๒๔๚

อาราธะนายาทยะ ตะถาคะตานาม

สรรวาตมะนา ทาสยะมุไปมิ โลเกฯ

กุรวันตุ เม มูรฆนิ ปะทัม ชะเนาฆา

วิฆนันตุ วา ตุษยะตุ โลกะนาถะห์๚ ๑๒๕๚

อาตมีกฤตัม สรรวะมิทัม ชะคัตไตห์ฯ

กฤปาตมะภิรไนวะ หิ สัมศะโยสติฯ

ทฤศยันตะ เอเต นะนุ สัตตวะรูปา-

สตะ เอวะ นาถาห์ กิมะนาทะโรตระ๚ ๑๒๖๚

ตะถาคะตาราธะนะเมตะเทวะ

สวารถัสยะ สัมสาธะนะเมตะเทวะฯ

โลกัสยะ ทุห์ขาปะหะเมตะเทวะ

ตัสมานมะมาสตุ วระตะเมตะเทวะ๚ ๑๒๗๚

ยะไถโก ราชะปุรุษะห์ ประมันถาติ มะหาชะนัมฯ

วิกรรตุม ไนวะ ศักโนติ ทีรฆะทรรศี มะหาชะนะห์๚ ๑๒๘๚

ยัสมานไนวะ สะ เอกากี ตัสยะ ราชะพะลัม พะลัมฯ

ตะถา นะ ทุรพะลัม กัญจิทะปะราทธัม วิมานะเยต๚ ๑๒๙๚

ยัสมานนะระกะปาลาศจะ กฤปาวันตัศจะ ตัทพะลัมฯ

ตัสมาทาราธะเยตสัตตวาน ภฤตยัศจัณฑะนฤปัม ยะถา๚ ๑๓๐๚

กุปิตะห์ กิม นฤปะห์ กุรยาทเยนะ สยานนะระกะวยะถาฯ

ยัตสัตตวะเทารมะนัสเยนะ กฤเตนะ หยะนุภูยะเต๚ ๑๓๑๚

ตุษฏะห์ กิม นฤปะติรทัทยาทยัทพุทธัตวะสะมัม ภะเวตฯ

ยัตสัตตวะเสามะนัสเยนะ กฤเตนะ หยะนุภูยะเต๚ ๑๓๒๚

อาสตาม ภะวิษยัทพุทธัตวัม สัตตวาราธะนะสัมภะวัมฯ

อิไหวะ เสาภาคยะยะศะห์เสาสถิตยัม กิม นะ ปัศยะสิ๚ ๑๓๓๚

ปราสาทิกัตวะมาโรคยัม ปราโมทยัม จิระชีวิตัมฯ

จะกระวรรติสุขัม สผีตัม กษะมี ปราปโนติ สัมสะรัน๚ ๑๓๔๚

อิติ กษานติปาระมิตา นามะ ษัษฐะห์ ปะริจเฉทะห์๚

 

บทแปล โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ ปริเฉทที่ ๖ กษานติบารมี (ขันติ)

  1. การงานอันสุจริต ทานและการบูชาพระสุคตเจ้าทั้งปวงนั้นใดอันบุคคลได้บำเพ็ญมาแล้วหลายพันกัลป์ปฏิฆะย่อมทำลายซึ่งสิ่งทั้งปวงนั้น
  2. บาปเสมอด้วยโทสะย่อมไม่มี ตบะเสมอด้วยความอดทนไม่มี เพราะฉะนั้น บุคคลพึงอบรมพอกพูนซึ่งความอดทนด้วยความเพียรพยายามโดยนัยต่าง ๆ เถิด
  3. เมื่อลูกศรคือโทสะดำรงอยู่แล้วในจิตใจ ใจย่อมไม่ได้รับความสงบ ย่อมไม่ได้ซึ่งปีติและความสุข ย่อมไม่ถึงซึ่งความหลับ (และ) ย่อมไม่ถึงซึ่งความตั้งมั่น
  4. โทสะนั้นย่อมบูชาซึ่งประโยชน์และความเคารพนับถือ ชนเหล่าใดได้อาศัยแล้วซึ่งโทสะนั้น แม้ชนเหล่านั้นก็ย่อมปรารถนาเพื่อจะฆ่าซึ่งโทสะนั้น อันเป็นสิ่งมีอำนาจ(และ) มีลักษณะทางอารมณ์อันเชี่ยวกราด
  5. แม้มิตรสหายก็ย่อมหวาดกลัวต่อเขา ย่อมไม่ให้(โอกาส) และย่อมไม่คบหาสมาคม(กับเขา) โดยสรุป ความโกรธนั้นตั้งมั่นอยู่แล้วในจิตดวงใด จิตดวงนั้น ๆ ย่อมไม่มี(ความสุข)
  6. ผู้ใดได้รู้จักศัตรูคือ ความโกรธว่า ศัตรูนั้นได้ก่อทุกข์อย่างนี้ๆ เป็นต้นแล้ว ฆ่าอยู่ซึ่งความโกรธเสียด้วยความพากเพียร ผู้นั้นย่อมมีความสุขทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
  7. เพราะการกระทำผิดและเพราะการทำลายซึ่งความปรารถนาอันเกิดขึ้นแล้ว ความโกรธซึ่งหยิ่งทะนงตน เมื่อได้รับอาหารจากจิตใจอันชั่วช้าแล้ว ก็จักฆ่าซึ่งข้าพเจ้าเสีย
  8. ข้าพเจ้าจักทำลายอาหารของศัตรูนั้นเสีย เพราะความปรารถนาอื่นใดนอกจากการทำลายข้าพเจ้าย่อมไม่มีแก่ศัตรูนั้น
  9. ข้าพเจ้าจะไม่ทำความยินดีให้ปั่นป่วนแปรเปลี่ยนเสีย แม้เพราะการมาถึงแห่งอารมณ์อันไม่น่าปรารถนาอย่างยิ่ง ความปรารถนาย่อมไม่มีแม้ในดวงจิตที่เลวทราม แต่กุศล(กลับ) จะเสื่อมหายไป
  10. หากการแก้ไขรักษาได้มีอยู่แล ประโยชน์อะไรด้วยจิตใจที่ชั่วช้าจักมีในข้อนี้เล่า และหากการแก้ไขได้ไม่มีอยู่ประโยชน์อันใดแห่งจิตใจอันชั่วช้าจักมีในข้อนี้เล่า
  11. ความทุกข์ยาก ความอับอาย ความหยาบกระด้างและความไร้ซึ่งเกียรติยศ ย่อมเป็นสิ่งไม่พึงปรารถนาทั้งแก่มิตรผู้เป็นที่รักและแก่ตัวข้าพเจ้าเอง แต่สำหรับศัตรูสิ่งนั้นพึงเป็นสิ่งตรงกันข้าม
  12. บุคคลย่อมได้รับความสุขด้วยความยากลำบากยิ่ง แต่ความทุกข์ได้ตั้งมั่นอยู่แล้วโดยไร้ซึ่งเหตุผล และเพราะความทุกข์นี้เอง ความไม่มีสาระจึงมีอยู่แน่ะจิต เพราะฉะนั้น เจ้าจงแน่วแน่มั่นคงเถิด
  13. เพื่อประโยชน์แห่งการหลุดพ้น ลูกน้อยของ ทุรคา (1) และกรณาฏะ (2) จึงได้อดทนต่อความทุกข์ทรมาน มีการเผาและการตัด (อวัยวะร่างกาย ) เป็นต้น โดยไร้เหตุผล ก็เพราะเหตุไรข้าพเจ้าจึงยังเป็นคนขี้ขลาดอยู่อีกเล่า

1 เป็นอีกชื่อหนึ่งของนางปารวตี ผู้เป็นพระชายาของพระศิวะ

2 ชื่อของวีรบุรุษผู้กล้าหาญคนหนึ่งในคัมภีร์มหาภารตะ

 

  1. เพราะได้กระทำซ้ำแล้วซ้ำเล่า ย่อมไม่มีสิ่งใด ๆ เลยอันนับว่าเป็นสิ่งที่กระทำได้ยากดังนั้น ด้วยการกระทำซ้ำแล้วซ้ำเล่าซึ่งความทุกข์อันเล็กน้อย ความทุกข์อันใหญ่ย่อมเป็นสิ่งที่ข้าพเจ้าพึงอดทนไว้ได้
  2. เพราะเหตุอะไร เจ้าจึงไม่เห็นซึ่งความเจ็บปวดทรมาน มีเหลือบยุง แมลง และความหิวกระหาย เป็นต้น และความทุกข์ทรมานมี โรคผื่นคันอันมากมาย เป็นต้น ซึ่งเป็นสิ่งอันไร้ประโยชน์เล่า
  3. บุคคลไม่ควรกระทำความอ่อนแอ เพราะความหนาว ร้อน ฝน ลม การเดินทางความเจ็บป่วย การถูกกักขังและทุบตี เพราะมิฉะนั้น ความทุกข์จะเพิ่มขึ้น
  4. บุคคลบางคนเมื่อได้เห็นเลือดของตน ย่อมก้าวล่วงเสียได้อย่างวิเศษ แต่คนบางคนเมื่อได้เห็นเพียงเลือดของผู้อื่น ย่อมถึงซึ่งอาการหน้ามืดวิงเวียน
  5. สิ่งนั้นได้เกิดมาจากความเข้มแข็งหรือความอ่อนแอของจิตเล่า เพราะฉะนั้น บุคคลไม่พึงเอาชนะซึ่งทุกข์ด้วยกาย แต่ควรผ่านพ้นซึ่งทุกข์ทั้งหลายเสีย (ด้วยใจ)
  6. บุคคลผู้มีปัญญาไม่ควรก่อกวนความสงบแห่งจิต(ให้ฟุ้งซ่าน) แม้ใน(เวลาเกิด)ความทุกข์(ขึ้นก็ตาม) เพราะว่า เขากำลังต่อสู้อยู่กับกิเลสทั้งหลาย และในการต่อสู้นั้นความทุกข์เป็นสิ่งที่หาได้ง่ายนัก
  7. ชนเหล่าใดต้อนรับอยู่ซึ่งหมู่ศัตรูที่ทุบตีอยู่บนอกอย่างเต็มกำลัง (พวกเขา) ชื่อว่า ย่อมชนะศัตรูทั้งหลาย ชนเหล่านั้นเป็นผู้ชนะอย่างกล้าหาญ ส่วนพวกที่เหลือเป็นเพียงทาสของความตาย(เท่านั้น )
  8. อนึ่ง เพราะการถูกก่อกวนของความทุกข์คุณธรรมความดีอื่น ๆ ย่อมเกิดมีขึ้นได้กล่าวคือ ความเสื่อมไปแห่งความมัวเมา ความเมตตากรุณาในสังสารวัฏ ความกลัวต่อบาปและความต้องการยินดีในชัยชนะ
  9. ความโกรธในหมู่ชนผู้มี อารมณ์ฉุนเฉียว เป็นต้น ย่อมไม่มีแก่ข้าพเจ้า แม้ในผู้คนที่สร้างความทุกข์ยากให้มากมายก็ไม่มีอยู่เหตุอะไร ความโกรธในหมู่คนผู้มีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์จักพึงมีด้วยเล่า เพราะแม้พวกเขาเหล่านั้นก็เป็นผู้มีความโกรธอยู่ในอารมณ์ความรู้สึกนึกคิด(เป็นเหตุปัจจัยเช่นเดียวกัน )
  10. ความโกรธแม้บุคคลไม่ปรารถนาอยู่ย่อมเกิดขึ้นได้โดยพลการ ดุจเดียวกับความทุกข์ยากนี้แม้ใคร ๆ ไม่ปรารถนาอยู่ก็ย่อมเกิดขึ้นมาได้
  11. เพราะคิดว่า ข้าพเจ้าจะโกรธล่ะ บุคคลจึงไม่โกรธตามความปรารถนาของตน และความโกรธย่อมไม่เกิดขึ้นเพราะตั้งใจว่า จะทำให้มันเกิดขึ้น
  12. ความผิดและบาปชนิดต่าง ๆ เหล่าใดเหล่าหนึ่งมีอยู่สิ่งทั้งปวงนั้นย่อมเกิดขึ้นมาจากอำนาจแห่งเหตุปัจจัย แต่บุคคลย่อมไม่อาจจะรับรู้ได้ถึงความสัมพันธ์แห่งเหตุผลของตนเอง
  13. ความคิดว่า ข้าพเจ้าจะเกิด ดังนี้ย่อมเป็นสิ่งที่ไม่เกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กับเหตุปัจจัย และแม้ความคิดว่า ข้าพเจ้าได้เกิดแล้ว ดังนี้ก็ย่อมเป็นสิ่งที่ไม่สัมพันธ์กับสิ่งที่ได้เกิดขึ้นมาแล้วเช่นกัน
  14. ได้ยินว่า สิ่งที่เป็นสสารปฐมภูมิ (1) อันน่าปรารถนา และสิ่งที่เรียกว่า อาตมัน (2) อันเป็นสิ่งที่บุคคลนึกคิดเอาเองได้ย่อมไม่อาจจะเกิดขึ้นได้เพราะความคิดว่า ข้าพเจ้าจะมีจะเป็น

1 Primary Matter หมายถึง สสารที่ยังไม่มีแบบและยังไม่มีการกระทำใด ๆ เลย หรือสสารที่อยู่ในสมรรถภาพอันบริสุทธิ์

2 หมายถึง อัตตาหรือตน (Self) มีสภาวะเป็นจิตหรือวิญญาณ มีลักษณะเที่ยงแท้ถาวรและมีสาระหรือเนื้อแท้ (Essence) อย่างเดียวกับพรหมัน ในคัมภีร์อุปนิษัทพรรณนาอาตมันไว้ 2 ลักษณะคือ ชีวาตมัน ได้แก่ปัจเจกชีพ (Individual Self) หรือปัจเจกวิญญาณ (Individual Soul) คือชีพหรือวิญญาณที่อยู่ในคนหรือสัตว์อีกลักษณะหนึ่งได้แก่วิญญาณสากล (Universal Soul) คือวิญญาณสากลโลกเรียกว่า ปรมาตมัน ซึ่งเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพรหมัน (Brahman)

 

  1. จริงอยู่สิ่งที่มิเคยเกิดขึ้นมาแล้วนั้น ย่อมไม่มี ดังนั้น ใครพึงปรารถนาจะเป็นอีกเล่า และเพราะการถูกวัตถุกามครอบงำอยู่บุคคลจึงไม่ปรารถนาแม้ซึ่งการหยุดยั้ง (ในความอยาก)
  2. และหากอาตมันเป็นสิ่งเที่ยงแท้ไร้ซึ่งเจตนา ไม่กระทำการเคลื่อนไหวใด ๆ เป็นประดุจท้องฟ้า แม้ในสภาวะที่ไม่ยึดติดอยู่ในระหว่างเหตุปัจจัย กิริยาของอาตมันซึ่งไม่เปลี่ยนแปลงนั้นจะพึงเป็นเช่นไร
  3. ในเรื่องของอาตมัน อะไรเล่าเป็นผู้กระทำในขณะเวลาแห่งการกระทำอะไรเล่าที่คอยเชื่อมมันไปสู่การกระทำเมื่อความเกี่ยวพันตั้งอยู่บนพื้นฐานแห่งความเชื่อที่ว่า อาตมันเป็นผู้กระทำแล้ว ความสัมพันธ์ย่อมอยู่ที่ไหน(และ) มันมีความเกี่ยวเนื่องกันอย่างไรในระหว่างสิ่งทั้งสองนี้
  4. ดังนั้น สรรพสิ่งทั้งหลายจึงตกอยู่ใต้อำนาจของสิ่งอื่น และแม้อำนาจอื่นนั้น ก็เป็นสิ่งที่ไร้อำนาจเช่นกัน เมื่อเป็นเช่นนี้บุคคลจะโกรธต่อสภาวะทั้งหลายซึ่งเคลื่อนไหวอยู่ได้อย่างไร เสมือนหนึ่งว่า กำลังโกรธอยู่ต่อสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาจากอำนาจเร้นลับ ฉะนั้น
  5. หากมีความคิดขึ้นว่า ใครย่อมสามารถห้ามซึ่งสิ่งใดได้แม้การห้ามเช่นนี้ก็เป็นสิ่งไม่สมควร แต่เพราะว่า สิ่งที่ไม่สมควรนั้นมีสภาพอันจริงแท้(ของหมู่สัตว์ที่อาศัยอยู่)การดับสิ้นไปแห่งทุกข์จึงเป็นสิ่งที่นึกฝันเอาได้
  6. เพราะฉะนั้น แม้เมื่อบุคคลได้พบเห็นซึ่งศัตรูหรือมิตรผู้ประพฤติความไม่เหมาะสมแล้วรู้แจ้งชัดอย่างนี้ว่า เหตุปัจจัยของสิ่งนี้ย่อมเป็นเช่นนี้ๆ ดังนี้ก็จะพึงมีความสุขได้
  7. แต่หากความสุขพึงเกิดขึ้นแก่สรรพสัตว์ทั้งหลายตามความปรารถนาของตนไซร้ความทุกข์ก็จะไม่พึงมีแก่ใคร ๆ ซึ่งเป็นผู้ไม่ปรารถนาความทุกข์ได้เลย
  8. เพราะความประมาท สัตว์ทั้งหลายจึงเบียดเบียนอยู่ซึ่งตัวเอง ด้วยศัสตราทั้งหลายมีหนามเป็นต้น เพราะความโกรธ พวกเขาจึงมีความปรารถนาในสตรีที่หาได้ยากเป็นต้น ด้วยการทรมานทั้งหลาย มีการตัดขาดจากอาหาร เป็นต้น
  9. บุคคลบางคนย่อมฆ่าตนเอง ด้วยการแขวนคอ ด้วยการกระโดดลงจากที่สูง ด้วย(การกิน ) อาหารที่เป็นอันตราย มีอาหารที่ผสมกับยาพิษเป็นต้น และด้วยการประพฤติในสิ่งซึ่งไม่เป็นบุญกุศล
  10. เพราะถูกกิเลสครอบงำอยู่อย่างนี้พวกเขาจึงฆ่าอยู่แม้ซึ่งตนองอันเป็นที่รักยิ่ง ดังนั้นการงดเว้น (การฆ่า ) ในร่างกายของคนอื่น จะพึงมีได้อย่างไรเล่า
  11. (หาก) ความเมตตาสงสารในหมู่ชนผู้ถูกกิเลสครอบงำทำให้อารมณ์เดือดพล่าน และผู้ซึ่งได้ผันแปรกลับไปในการฆ่าตนเอง มีอยู่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น ความโกรธจะเกิดขึ้นได้อย่างไรเล่า
  12. หากธรรมชาติของคนโง่เขลาทั้งหลาย เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้อื่นแล้วไซร้การโกรธ(ตอบ) ในเขาเหล่านั้น ย่อมเป็นสิ่งไม่เหมาะสมแก่ตัวเรา เหมือนกับ(การโกรธตอบ) ในไฟซึ่งเป็นธรรมชาติแห่งการเผาไหม้ฉะนั้น
  13. อีกอย่างหนึ่ง ความโกรธนี้เป็นสิ่งที่จรมาชั่วขณะ สัตว์ทั้งหลายก็เป็นผู้น่ารักโดยธรรมชาติความโกรธนั้นจึงเป็นสิ่งไม่สมควรแม้โดยประการนั้น ดุจเดียวกับ(การโกรธตอบต่อ)อากาศซึ่งเต็มไปด้วยหมอกควันอันครุกครุ่นอยู่ฉะนั้น
  14. หากบุคคลละทิ้งซึ่งศัสตรามีท่อนไม้เป็นต้นข้างหน้าเสียแล้ว โกรธอยู่ต่อสิ่งที่กระตุ้น(ให้โกรธ) แม้เขาก็ถูกความโกรธกระตุ้นแล้ว ขอความโกรธของข้าพเจ้าพึงมีในตัวความโกรธ(ของเขานั้น ) ย่อมเป็นสิ่งประเสริฐกว่า
  15. แต่เก่าก่อน แม้ข้าพเจ้าเองก็ได้สร้างความทุกข์ยากเช่นนี้ไว้แก่สัตว์ทั้งหลาย ดังนั้นความทุกข์ยากนี้ย่อมเป็นสิ่งที่เหมาะสมแก่ข้าพเจ้า ผู้ซึ่งได้ทำอันตรายไว้แก่สัตว์ทั้งหลายนั่นแล
  16. ศัสตราของเขาและร่างกายของข้าพเจ้า ย่อมเป็นมูลเหตุแห่งความทุกข์ยากทั้งสองอย่างเขายึดถือเอาซึ่งศัสตรา ข้าพเจ้าก็ยึดถือเอาซึ่งร่างกาย(เช่นนี้แล้ว) ข้าพเจ้าจะโกรธในที่ไหนได้เล่า
  17. ความโกรธนี้เป็นธรรมชาติมีอารมณ์เดือดพล่าน มีลักษณะประดุจร่างกาย ไม่อาจต้านทานการกระทบกระทั่งได้อันข้าพเจ้าได้ยึดติดไว้แล้ว เพราะข้าพเจ้าเป็นผู้มืดมนอยู่กับความอยาก จึงได้ติดแน่นอยู่ในความทุกข์ยากนั้นแล้ว ข้าพเจ้าจักโกรธในที่ไหนได้เล่า
  18. ข้าพเจ้าย่อมไม่ปรารถนาซึ่งทุกข์แต่ข้าพเจ้าปรารถนาอยู่ซึ่งสาเหตุแห่งทุกข์ข้าพเจ้าเป็นคนโง่เขลา ในเมื่อความทุกข์เกิดขึ้นมาจากความผิดพลาดของตัวเอง เพราะเหตุไร ข้าพเจ้าย่อมโกรธในสิ่งอื่นด้วยเล่า
  19. ป่าไม้มีใบ(คม) ประดุจมีด และนกในนรกทั้งหลาย ล้วนเกิดขึ้นมาจากกรรมของเขาเองฉันใด ความทุกข์ยากนี้ก็ล้วนเกิดขึ้นมาจากกรรมของข้าพเจ้าเอง ฉันนั้น(เช่นนี้แล้ว)ข้าพเจ้าจะโกรธในที่ไหนได้เล่า
  20. หมู่ชนผู้ประทุษร้ายในตัวข้าพเจ้า ล้วนเป็นผู้ถูกกรรมของข้าพเจ้าดลบันดานไว้นั่นเองเพราะพวกเขาจักไปสู่นรกทั้งหลาย ดังนั้น พวกเขาจึงถูกข้าพเจ้าเองทำลายแล้วมิใช่หรือ
  21. เพราะอาศัยซึ่งเขาเหล่านั้น บาปจำนวนมากของข้าพเจ้าจึงถูกกำจัดอยู่ด้วยความอดทน แต่เพราะอาศัยข้าพเจ้า (พวกเขา) จึงไปสู่นรก เสวยทุกขเวทนาอยู่เป็นเวลานาน
  22. ข้าพเจ้านั่นเองเป็นผู้ประทุษร้ายพวกเขา และเขาเหล่านั้นก็เป็นผู้มีอุปการะแก่ข้าพเจ้า เมื่อได้กระทำสภาพการณ์ให้ตรงกันข้ามแล้ว เพราะเหตุไร เจ้า (1) ซึ่งเป็นผู้มีความคิดชั่วช้า ย่อมโกรธอยู่อีกเล่า

1 หมายถึง จิต

 

  1. หากคุณธรรมในจิตใจของข้าพเจ้ามีอยู่ข้าพเจ้าย่อมไม่ไปสู่นรก หากข้าพเจ้ารักษาไว้ซึ่งตนเองแล้ว การกระทำในเรื่องนี้ของพวกเขาจะพึงเป็นเช่นไร
  2. หากข้าพเจ้าพึงกระทำการตอบโต้ไซร้พวกเขาก็จักไม่ได้รับการรักษาคุ้มครองเช่นกันและการประพฤติธรรมของข้าพเจ้าก็จะถูกตัดขาด ดังนั้น การบำเพ็ญตบะธรรมมาก็ย่อมฉิบหายไป
  3. เพราะความที่(มัน) เป็นสิ่งไร้ซึ่งรูปร่าง ใคร ๆ จึงไม่สามารถจะฆ่าจิตใจได้ในทุก ๆ ที่แต่เพราะความผูกพันยึดแน่นอยู่กับร่างกาย จิตจึงถูกความทุกข์เบียดเบียนอยู่
  4. การถูกดูหมิ่นเหยียดหยาม คำพูดที่หยาบคายและความเสื่อมเสียชื่อเสียงทั้งปวงนี้ย่อมไม่สามารถเบียดเบียนร่างกายได้แน่ะจิต เพราะเหตุไร เจ้าจึงโกรธอยู่กับสิ่งเหล่านั้นด้วยเล่า
  5. ผู้ใดทำคนเหล่าอื่นไม่ให้เลื่อมใสในตัวข้าพเจ้า ผู้นั้นจักครอบงำซึ่งข้าพเจ้าได้อย่างไรเพราะข้าพเจ้าไม่ปรารถนาแล้วซึ่งสิ่งนี้ทั้งในชาตินี้และชาติหน้า
  6. แม้ว่าสิ่งนี้ (1) จะเป็นสิ่งไม่น่าปรารถนาของข้าพเจ้า เพราะมันอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ลาภได้(ถึงอย่างนั้น) ลาภของข้าพเจ้าย่อมจะหมดสิ้นไปในที่นี้แต่บาป(กลับ) ดำรงอยู่อย่างมั่นคง

1 การดูถูกเหยียดหยาม คำพูดที่หยาบคายและการเสื่อมเสียเกียรติยศ

 

  1. ความตายของข้าพเจ้าในวันนี้นั่นแล เป็นสิ่งประเสริฐกว่าการดำรงชีวิตอยู่เป็นเวลานานซึ่งเป็นสิ่งไม่เหมาะสมเลย เพราะแม้ว่า(ข้าพเจ้า) จะดำรงชีวิตอยู่เป็นเวลานานความทุกข์อันเกิดจากความตายย่อมมีอยู่แก่ข้าพเจ้านั่นเอง
  2. บุคคลใดเสวยความสุขอยู่ในความฝันตลอดร้อยปี แล้วถูกปลุกให้ตื่นขึ้น และคนอื่น ๆซึ่งเป็นผู้มีความสุขชั่วขณะหนึ่ง แล้วตื่นขึ้น
  3. ความสุขของบุคคลผู้ตื่นขึ้นแล้วแม้ทั้งสองนั้น ย่อมไม่มีอยู่มิใช่หรือ ข้อนั้นย่อมมีอุปมาดุจเดียวกันกับ(ความสุข) ในเวลาแห่งความตายของบุคคลผู้มีชีวิตอันยาวนานและสั้นเล็กน้อย ฉะนั้น
  4. แม้ได้รับแล้วซึ่งลาภจำนวนมาก และเสวยความสุขอยู่เป็นเวลานาน ข้าพเจ้าผู้มีมืออันว่างเปล่าและ(อยู่อย่าง) อ้างว้างโดดเดี่ยว ประหนึ่งว่าถูกโจรขโมยปล้นไปอยู่ฉะนั้น
  5. อย่างไรก็ตาม เพราะอาศัยลาภ ข้าพเจ้าผู้มีชีวิตอยู่จึงได้กระทำการกำจัดบาปและบำเพ็ญบุญ แต่ความเสื่อมสิ้นไปแห่งบุญและบาป ย่อมมีแก่บุคคลผู้โกรธอยู่เพราะประโยชน์แห่งลาภมิใช่หรือ
  6. ข้าพเจ้าย่อมดำรงชีวิตอยู่เพื่อประโยชน์ใด หากประโยชน์นั้นย่อมพินาศไป ประโยชน์อะไรจักมีกับด้วยความเป็นอยู่เช่นนั้น ซึ่งกระทำแต่กรรมอันไม่งามเพียงอย่างเดียวเล่า
  7. หาก(เจ้ารู้อยู่ว่า) ความโกรธย่อมทำหมู่สัตว์ให้พินาศไปได้ด้วยการกล่าวถ้อยคำอันด่างพร้อยมัวหมองเป็นต้น เมื่อเป็นเช่นนี้เพราะเหตุไร ความโกรธจักไม่เกิดขึ้นแก่เจ้า อันเป็นผู้กระทำความไร้ซึ่งเกียรติยศชื่อเสียงแก่คนอื่นด้วยเล่า
  8. ความอดทนของเจ้าย่อมมีในบุคคลทั้งหลาย มีคนผู้ไม่มีความเลื่อมใส เป็นต้น เพราะถ้อยคำอันไม่น่าเลื่อมใสนั้นมุ่งกล่าวถึงผู้อื่น แต่ความอดทนในถ้อยคำทั้งหลาย มีถ้อยคำอันด่างพร้อย เป็นต้น ซึ่งผู้อื่นมุ่งกล่าวเพื่อกระตุ้นกิเลส(ของเจ้า) ให้เกิดขึ้น จึงไม่มีอยู่แก่เจ้าเล่า
  9. ความโกรธในบุคคลผู้ทำลายและแช่งด่าอยู่ซึ่งพระพุทธรูป พระสถูปและพระสัทธรรมย่อมไม่สมควรแก่ข้าพเจ้า เพราะว่า อันตรายย่อมไม่เกิดขึ้นแก่บัณฑิตทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้น
  10. เมื่อได้พิจารณาเห็นซึ่งความเกิดขึ้นแห่งเหตุปัจจัย เหมือนในกาลก่อนแล้ว บุคคลควรห้ามซึ่งความโกรธในหมู่ชนผู้ประทุษร้ายอยู่ซึ่งครูอาจารย์และญาติสาโลหิตเป็นต้น ซึ่งเป็นที่รักที่ชอบใจเสีย
  11. อันตรายของสัตว์ทั้งหลายที่ถูกกระทำขึ้นโดยสิ่งทั้งที่มีชีวิตจิตใจและไร้ซึ่งจิตใจ ย่อมเป็นสิ่งเที่ยงแท้แน่นอน แต่อันตรายนั้นบุคคลสามารถเห็นได้เฉพาะในสิ่งที่มีจิตใจเท่านั้นดังนั้น เจ้าจงอดทนต่ออันตรายเหล่านี้เสีย (ให้ได้)
  12. เพราะความหลง บุคคลพวกหนึ่งจึงกระทำผิด แต่บุคคลพวกอื่นซึ่งเป็นผู้มีความหลงอยู่เช่นกันย่อมโกรธเคือง ในบรรดาบุคคลทั้งสองพวกนี้เราทั้งหลายจะเรียกซึ่งใครว่า เป็นผู้ไม่มีความผิด หรือจะเรียกใครว่า เป็นผู้กระทำผิดเล่า
  13. เจ้าได้กระทำอย่างนี้ไว้ในครั้งก่อน ด้วยเหตุใด เหตุนั้น เจ้าจึงถูกคนอื่นเบียดเบียนอยู่เช่นนี้สรรพสิ่งทั้งหลายย่อมอิงอาศัยอยู่กับกรรมเสมอ ข้าพเจ้าหรือใครได้เป็นผู้กระทำการเปลี่ยนแปลงในเรื่องนี้เล่า
  14. แต่เมื่อได้รู้แจ้งอย่างนี้แล้ว ข้าพเจ้าย่อมกระทำซึ่งความพากเพียรในบุญกุศลทั้งหลาย โดยประการที่สรรพสัตว์ทั้งหลายจักเป็นผู้มีจิตใจประกอบด้วยความเมตตาต่อบุคคลอื่น
  15. เมื่อบ้านถูกไฟไหม้อยู่และไฟก็ลุกลามไปสู่บ้านหลังอื่น ๆ พัสดุทั้งหลายมีหญ้าเป็นต้นพึงติดอยู่ในที่ใด บุคคลควรกำจัดและนำไปเสียจากที่นั้น
  16. ในกาลใด จิตใจถูกไฟคือความโกรธเผาไหม้อยู่เพราะการเกี่ยวข้องกันอยู่อย่างนี้ในกาลนั้น บุคคลควรกำจัดไฟคือความโกรธเสีย เพราะบุญกุศลของตนอาจถูกเผาไหม้ไปได้
  17. หากบุคคลผู้ควรตาย เป็นผู้ถูกตัดมือแล้วหลุดพ้น(จากความตายนั้น) เขาเป็นผู้ชื่อว่าไม่เจริญหรือ หากบุคคลเป็นผู้หลุดพ้นแล้วจากนรกทั้งหลาย ด้วยความทุกข์ในโลกมนุษย์เขาย่อมชื่อว่าไม่เจริญอีกหรือ
  18. ในวันนี้หากบุคคลย่อมไม่สามารถจะอดทนต่อความทุกข์เพียงเท่านี้ได้ดังนั้น เพราะเหตุไร เขาจึงไม่หักห้ามความโกรธอันเป็นมูลเหตุแห่งความทุกข์ในนรกเสียเล่า
  19. ข้าพเจ้า(ต้องตก) อยู่ในนรกทั้งหลายตั้งพันครั้ง เพียงเพื่อประโยชน์แห่งความโกรธเท่านั้นเอง และสิ่งที่ข้าพเจ้าได้กระทำแล้วนั้น ข้าพเจ้ามิได้กระทำไปเพื่อเป็นประโยชน์ตนและประโยชน์ผู้อื่นเลย
  20. แต่สิ่งนี้ย่อมไม่เป็นความทุกข์เช่นนั้นเลย และมันจักกระทำซึ่งประโยชน์อันยิ่งใหญ่ขึ้นได้ความยินดีในความทุกข์ยากที่ได้นำเอาซึ่งความทุกข์ของโลก(ให้หมดสิ้นไป) นั่นเองย่อมเป็นสิ่งประเสริฐในเรื่องนี้
  21. หากคนเหล่าอื่นได้รับแล้วซึ่งความปลื้มปีติยินดีและความสุข เพราะสรรเสริญพลังอำนาจแห่งคุณธรรมแล้วไซร้แน่ะจิต เพราะเหตุไร เจ้าจึงไม่สรรเสริญพลังแห่งคุณธรรมนั้นแล้ว บันเทิงยินดีอยู่เช่นนั้นเล่า
  22. ความปลื้มยินดีและความสุขของเจ้านี้เป็นสิ่งสมบูรณ์เป็นบ่อเกิดแห่งความสุข เป็นสิ่งอันประเสริฐสูงสุด เป็นเครื่องจูงใจคนอื่นไว้ได้และเป็นสิ่งซึ่งคุณธรรมทั้งหลายมิได้ห้ามปรามแล้ว
  23. แต่หากความปลื้มยินดีและความสุขนี้ไม่เป็นที่ชอบใจอย่างนี้ว่า ความสุขมีอยู่แก่เขาเท่านั้น บุคคลจึงควรละทิ้ง(สินไหมรางวัล) ทั้งที่มองเห็นได้และมองเห็นไม่ได้เสีย ด้วยการงดเว้นการจ่ายค่าจ้างเป็นต้น
  24. เมื่อเกียรติคุณของตนถูกคนอื่นกล่าวสรรเสริญอยู่เจ้าจงปรารถนาแม้ซึ่งความสุขแก่คนอื่นเถิด แต่เมื่อเกียรติคุณของผู้อื่นถูกกล่าวสรรเสริญอยู่เจ้าจงอย่าปรารถนาซึ่งความสุขเพื่อตนเอง(เท่านั้น ) เลย
  25. เมื่อได้สร้างโพธิจิตให้เกิดขึ้นแล้ว ด้วยความปรารถนาความสุขแด่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ในวันนี้เพราะเหตุไร เจ้าจึงโกรธอยู่ต่อสัตว์ทั้งหลายผู้ได้รับความสุขด้วยตัวเขาเองอีกเล่า
  26. ได้ยินว่า เจ้าย่อมปรารถนาความเป็นพระพุทธเจ้า อันเป็นเครื่องบูชาของโลกทั้งสาม แด่สัตว์ทั้งหลาย แต่เมื่อได้เห็นซึ่งเกียรติยศและความเจริญของสัตว์เหล่านั้นแล้ว เพราะเหตุไร เจ้าจึงเร่าร้อนโกรธเคืองอยู่อีกเล่า
  27. บุคคลผู้เลี้ยงดูอยู่ซึ่งญาติมิตรที่ท่านควรเลี้ยง ให้อยู่ซึ่งสมบัติอันมีค่ามากกว่า เมื่อได้(เห็น) ความเป็นอยู่ของหมู่ญาติ(ของเจ้าเช่นนี้) แล้ว เจ้าย่อมไม่ยินดีหรือ(เพราะเหตุไร)เจ้าจึงโกรธตอบอยู่อีกเล่า
  28. ผู้ใดย่อมปรารถนาซึ่งการตรัสรู้ของสรรพสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้น ผู้นั้นย่อมไม่ชื่อว่าปรารถนาอยู่หรือ ผู้ใดย่อมโกรธในความสุขสำเร็จของบุคคลอื่น โพธิจิตของผู้นั้นจักมีได้ ณ ที่ไหนเล่า
  29. หากบุคคลไม่ได้รับสิ่งนั้นซึ่งสถิตอยู่ในเรือนของทานบดีแล้วไซร้แม้สิ่งนั้นก็จักไม่มีแก่เขาโดยประการทั้งปวง ประโยชน์อะไรด้วยวัตถุทั้งที่ผู้อื่นให้แล้วและยังมิได้ให้(จะพึงมีแก่เขาเล่า )
  30. เพราะเหตุไร คนอื่นจึงเลือกละทิ้งซึ่งบุญ ความเลื่อมใสและคุณงามความดีของตนเสียเมื่อเขาได้ประสบอยู่แต่ก็ไม่ยอมรับ (สิ่งเหล่านั้น ) ขอเจ้าจงบอกเถิดว่า เพราะเหตุไร เจ้าจึงไม่โกรธ(ต่อเขาเหล่านั้น )
  31. เจ้าย่อมไม่เสียใจถึงบาปที่เจ้าได้กระทำไว้แก่ตัวเองบ้างหรือ เจ้าจึงปรารถนาเพื่อที่จะกระทำการแข่งดีชิงชังกับคนเหล่าอื่น ซึ่งเป็นผู้ได้บำเพ็ญบุญไว้แล้ว
  32. หากความไม่ชอบใจเกิดขึ้นมาจากศัตรูไซร้ประโยชน์อะไรด้วยความพอใจของเจ้าจะพึงมีอีกเล่า(ความไม่ชอบใจนั้น) จักไม่มีเพียงเพราะความปรารถนาของเจ้าและโดยการปราศจากเหตุผล
  33. หากความสำเร็จย่อมมีได้ด้วยความปรารถนาเขาเจ้าไซร้ความสุขอะไรจะพึงมีแก่เจ้าในความทุกข์ยากนั่นเล่า แม้หากว่า ประโยชน์สุขจะพึงเป็นสิ่งไม่เหมาะสมแล้วไซร้ความสุขอะไร ๆ อื่น จะพึงมีจากประโยชน์สุขนั้นหรือหนอ
  34. โดยที่แท้เบ็ดอันน่ากลัวนี้ถูกชาวประมงคือกิเลสจับยึดไว้แล้ว ดังนั้น ยมบาลคนเฝ้านรกทั้งหลาย เมื่อได้ซื้อท่านแล้วก็จักต้มท่านไว้ในหม้อ (ทองแดง)
  35. คำสรรเสริญ เกียรติยศและความเคารพนับถือ(ของข้าพเจ้า) ย่อมไม่อาจทดแทนได้ทั้งในบุญกุศลและความมีอายุยืนยาว พละกำลังของข้าพเจ้าก็ไม่อาจทดแทนในความไม่มีโรคและในความสุขทางกายได้เลย
  36. อนึ่ง (หาก) ประโยชน์สุขแห่งตนของบุคคลผู้มีปัญญา ผู้รู้แจ้งซึ่งประโยชน์สุขของตนเองพึงมีจากคำสรรเสริญเป็นต้นเหล่านั้นไซร้ความปรารถนาซึ่งความสุขอันเป็นไปในจิตใจพึงเป็นสิ่งที่พวกเขาควรส้องเสพ มีการดื่มสุรายาเมาและเล่นการพนันเป็นต้น
  37. เพื่อประโยชน์แห่งเกียรติยศ เขาทั้งหลายก็ได้ทำลายเสียและทั้งยังได้ฆ่าเสียซึ่งประโยชน์สุขและตัวตนของตนเอง เพราะเหตุไร พวกเขาจึงได้ทำลายถ้อยคำทั้งหลายเสีย เมื่อความตายมีอยู่ความสุขนั้นจักมีแก่ใครเล่า
  38. เมื่อคฤหาสน์ถูกทำลายเสีย เด็กย่อมร้องไห้ด้วยเสียงอันทุกข์ทรมาน ฉันใด จิตของตัวข้าพเจ้าเอง ก็จักตอบโต้ในเพราะการสูญสิ้นไปแห่งคำสรรเสริญและเกียรติยศ ฉันนั้น
  39. คำพูดที่ว่า เขาย่อมสรรเสริญข้าพเจ้า ดังนี้ย่อมไม่ใช่มูลเหตุ(แห่งความพอใจ) เพราะมันเป็นสิ่งไม่มีความรู้สึกนึกคิด ถ้อยคำนั้นเป็นเพียงสาเหตุแห่งความพอใจยินดี เพราะ(ข้าพเจ้า ) คิดว่า ได้ยินว่า คนอื่น ๆ พอใจแล้วในตัวข้าพเจ้า ดังนี้
  40. แม้เมื่อความพอใจยินดีนั้นมีอยู่ในบุคคลอื่นและในข้าพเจ้า ประโยชน์อะไรกับด้วยความยินดีพอใจของคนอื่นจักมีแก่ข้าพเจ้าเล่า ความสุขอันเกิดจากความยินดีนั้น ย่อมมีแก่เขาฝ่ายเดียว แม้ส่วนแบ่งอันเล็กน้อยจากความสุขนั้น ก็หาเกิดขึ้นแก่ข้าพเจ้าด้วยไม่
  41. หากความสุขย่อมมีได้ด้วยความสุขของเขาแล้วไซร้ขอความสุขนั้นจงมีแก่ข้าพเจ้าในที่ทั้งปวงด้วยเถิด เพราะเหตุไร ในบรรดาความสุขทั้งหลาย ความสุขแม้สักอย่างหนึ่งจึงไม่มีแก่ข้าพเจ้า ด้วยการอาศัยความเลื่อมใสของผู้อื่นเล่า
  42. เพราะฉะนั้น ความสุขใจอันเกิดขึ้นอยู่ในตัวตนเช่นนั้น ด้วยคิดว่า ข้าพเจ้าถูกเขาสรรเสริญแล้ว ความสุขใจที่เกิดขึ้นในตนเช่นนั้น ย่อมเป็นเพียงพฤติกรรมของเด็กอย่างเดียวเท่านั้น เพราะมันมิได้มีความสัมพันธ์กันเลย
  43. ความสุขยินดีมีการสรรเสริญเป็นต้นเหล่านี้จักทำลายเสียซึ่งความปลอดภัยและความรังเกียจต่อทุกข์ในสังสารวัฏให้พินาศไปได้(นอกจากนี้) มันยังสร้างความริษยาและความโกรธให้สำเร็จผลในบุคคลผู้มีคุณทั้งหลายอีกด้วย
  44. เพราะฉะนั้น คนเหล่าใดเกิดขึ้นมาเพื่อการทำลายซึ่งความสุขยินดีมีการสรรเสริญเป็นต้นของข้าพเจ้า คนเหล่านั้นย่อมชื่อว่า เป็นผู้ต้านทาน เพื่อประโยชน์แห่งการป่องกันการตกไปสู่อบายภูมิของข้าพเจ้ามิใช่หรือ
  45. อนึ่ง หากเครื่องพันธนาการคือลาภและเกียรติยศชื่อเสียง เป็นสิ่งไม่เหมาะสมแล้วแก่ข้าพเจ้า ผู้ซึ่งปรารถนาความหลุดพ้น ความโกรธในหมู่ชนผู้ได้ปลดปล่อยข้าพเจ้าให้หลุดพ้นจากเครื่องผูกมัดเหล่านั้น จักมีแก่ข้าพเจ้าได้อย่างไรเล่า
  46. อนึ่ง หากเครื่องพันธนาการคือลาภและเกียรติยศชื่อเสียง เป็นสิ่งไม่เหมาะสมแล้วแก่ข้าพเจ้า ผู้ซึ่งปรารถนาความหลุดพ้น ความโกรธในหมู่ชนผู้ได้ปลดปล่อยข้าพเจ้าให้หลุดพ้นจากเครื่องผูกมัดเหล่านั้น จักมีแก่ข้าพเจ้าได้อย่างไรเล่า
  47. ความโกรธในบุคคลผู้มาเพื่อปิดประตู(แห่งความชั่ว) แก่ข้าพเจ้าผู้ปรารถนาที่จะเข้าไปสู่ความทุกข์ยาก จักมีอยู่แก่ข้าพเจ้าได้อย่างไรเล่า ประหนึ่งว่า พวกเขาเป็นผู้อันพระพุทธเจ้าทรงอนุญาตไว้แล้ว ฉะนั้น
  48. บุคคลไม่ควรประกอบความโกรธไว้ในคนเหล่านั้น ด้วยคิดว่า เขาได้สร้างอุปสรรคขวากหนามแห่งบุญกุศลไว้แล้ว ตบะอันเสมอด้วยความอดทนย่อมไม่มี ดังนั้น บุคคลควรดำรงตนอยู่ในความอดทนนั้นมิใช่หรือ
  49. อนึ่ง เพราะโทสะของตนเอง ข้าพเจ้าจึงมิได้กระทำความอดทนไว้ในที่นี้ดังนั้น เมื่อเหตุแห่งบุญกุศลได้ตั้งขึ้นแล้ว ตัวข้าพเจ้าเองที่ได้สร้างอุปสรรค(แห่งบุญนั้น ) ไว้แล้ว
  50. หากคนใดคนหนึ่งไม่มีอยู่โดยเว้นจากคนอื่น และเมื่อผู้ใดมีอยู่บุคคลก็ย่อมรับรู้ได้(ว่า)ผู้นั้นนั่นเองย่อมเป็นสาเหตุของเขา ผู้นั้นจะถูกเรียกว่า เป็นอุปสรรคได้อย่างไรเล่า
  51. อนึ่ง ยาจกผู้มีความปรารถนาซึ่งเกิดขึ้นในกาลอันเหมาะสม มิได้เป็นผู้สร้างอุปสรรคแห่งการบริจาคทานเลย และเมื่อการบำเพ็ญพรตอันบุคคลได้รับแล้ว ใคร ๆ ก็ย่อมไม่อาจจะเรียกชีวิตของนักบวชได้ว่า เป็นอุปสรรค(ของการบวช)
  52. คนยากจนในโลกนั้นหาได้ง่าย แต่คนประพฤติผิดนั้นหาได้ยากนัก เพราะใคร ๆ ก็จะไม่ประพฤติต่อข้าพเจ้าซึ่งเป็นผู้มิได้กระทำผิด
  53. ดังนั้น ชัยชนะอันไม่ประกอบด้วยความเพียรพยายามได้ตั้งขึ้นแล้ว เหมือนขุมทรัพย์(ตั้งขึ้นอยู่) ในบ้าน ฉะนั้น ศัตรูของข้าพเจ้าควรเป็นผู้ถูกข้าพเจ้าชื่นชมยินดี เพราะเขาเป็นสหายในการบำเพ็ญเพียรเพื่อการตรัสรู้(ของข้าพเจ้า )
  54. เพราะฉะนั้น ทั้งข้าพเจ้าและเขาควรได้รับซึ่งผลแห่งความอดทนนั้น ผลประการแรกควรมอบให้แก่เขา เพราะว่าความอดทนเบื้องต้นมีขึ้นได้ก็เพราะเขา
  55. (และหาก) ความตั้งใจที่จะให้สำเร็จผลในความอดทนย่อมไม่มีแก่เขา เหตุนั้น ข้าพเจ้าไม่ควรบูชาซึ่งศัตรูแม้พระสัทธรรมอันเป็นเหตุแห่งความสำเร็จและไร้(การยึดติด) ซึ่งความนึกคิด ข้าพเจ้าจะบูชาอยู่ได้อย่างไร
  56. หากข้าพเจ้าไม่บูชาอยู่ซึ่งศัตรูด้วยความคิดว่า ความปรารถนาที่จะกระทำผิด ย่อมมีแก่เขาดังนี้ไซร้ความอดทนจะเกิดขึ้นแก่ข้าพเจ้าโดยประการอื่นได้อย่างไร เหมือนหมอเอ่ยถึงอยู่ซึ่งความสุข(จากการเป็นโรค) ฉะนั้น
  57. ดังนั้น ความอดทนย่อมเกิดขึ้นแก่เขา ซึ่งเป็นผู้เข้าใจชัดถึงความปรารถนาในภยันตรายนั้นนั่นเอง ฉะนั้น เขานั่นเองได้ชื่อว่า เป็นมูลเหตุแห่งความอดทน ข้าพเจ้าควรบูชา(เขา)ประหนึ่งว่า บูชาพระสัทธรรมอยู่ฉะนั้น
  58. ด้วยเหตุนี้พระผู้จอมมุนีเจ้าได้ตรัสไว้แล้วว่า อาณาจักรแห่งสรรพสัตว์ก็คือ อาณาจักรแห่งพระชินเจ้านั่นเอง ดังนั้น เพราะการบูชาซึ่งสรรพสัตว์และพระชินเจ้าเหล่านั้นนั่นเองสัตว์โลกจำนวนมากมายจึงได้บรรลุถึงฝังแห่งความสำเร็จแล้ว
  59. เมื่อการแสดงธรรมของพระพุทธเจ้า เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเสมอเหมือนกันแก่สรรพสัตว์และเหล่าพระชินเจ้าทั้งหลาย เพราะเหตุไร การประพฤติความเคารพในพระชินเจ้าทั้งหลาย มีอยู่(แต่) ไม่มีความเคารพในสรรพสัตว์ทั้งหลายเล่า
  60. ความยิ่งใหญ่แห่งความปรารถนาย่อมไม่มีในตนเอง แต่ผลของมันยังมีอยู่และด้วยเหตุนี้ความเป็นผู้มีจิตใจกว้างขวางของสรรพสัตว์ทั้งหลายจึงเป็นสิ่งเสมอกัน เหตุนั้น พวกเขาย่อมเป็นผู้เสมอกัน (มิใช่หรือ )
  61. สิ่งใดประกอบด้วยไมตรีจิต และเป็นสิ่งที่ควรบูชา สิ่งนั้นก็คือความเป็นผู้มีจิตใจกว้างขวางของสัตว์นั่นเอง บุญใดย่อมมีได้ด้วยความเมตตากรุณาของพระพุทธเจ้า บุญนั้นก็คือความมีพระหฤทัยอันยิ่งใหญ่ของพระพุทธเจ้านั่นเอง
  62. เพราะฉะนั้น สัตว์ทั้งหลายย่อมมีความเสมอภาคกันกับพระชินเจ้าทั้งหลาย เพราะอาศัยเศษส่วนซึ่งได้รับมาจากพระธรรมของพระพุทธองค์แต่สัตว์บางพวกนั้น ย่อมไม่เสมอกันกับพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ซึ่งทรงมีมหาสมุทรคือคุณธรรมอันไม่มีที่สิ้นสุด
  63. หากแม้เศษเสี้ยวแห่งคุณธรรมของหมู่ชน ผู้มีราศีอันเป็นเอกในคุณสาร อันใคร ๆมองเห็นได้อยู่แม้โลกทั้งสามก็เป็นสิ่งไม่สมควร เพื่อจะบูชาบุคคลเช่นนั้น
  64. แต่ความประเสริฐอันเป็นส่วนที่เกิดขึ้นมาจากพระธรรมของพระพุทธเจ้า บุคคลย่อมพบเห็นได้ในสัตว์ทั้งหลาย เพราะการพิจารณาซึ่งส่วนสำคัญนี้การบูชาสัตว์ทั้งหลายจึงเป็นสิ่งที่ควรกระทำ
  65. อีกอย่างหนึ่ง พัสดุอะไรพึงมีแก่พวกพ้องผู้ไม่ปิดบังซ่อนเร้นทั้งหลายและแด่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ผู้ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณอันหาประมาณมิได้เมื่อได้เสียสละซึ่งประโยชน์สุขของตนแก่สัตว์ทั้งหลายแล้ว ผลตอบแทนอะไร ๆ อื่นจะพึงมีอีกเล่า
  66. บุคคลพึงทำการตอบแทนซึ่งประโยชน์สุขแก่สรรพสัตว์เหล่านั้น ซึ่งเป็นผู้ได้ประทุษร้ายร่างกาย (และ) เข้าไปสู่นรกอเวจี แม้ว่า(จะมี) ภยันตรายอันยิ่งใหญ่(แต่) กรรมอันดีงามทั้งปวงก็ถูกพวกเขาประพฤติไว้แล้วเช่นกัน
  67. ในขณะที่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ผู้ทรงเป็นนายของข้าพเจ้าเอง มิได้ทรงใส่ใจถึงประโยชน์ใด ๆ(อันมีอยู่) ในพระองค์เอง ข้าพเจ้าจะกระทำความหยิ่งยโส(เพียงอย่างเดียว) แต่ไม่กระทำความเป็นทาสผู้ซื่อสัตย์ในเจ้านายเหล่านั้นได้อย่างไร
  68. เมื่อความสุขมีอยู่แก่สัตว์เหล่าใด พระผู้จอมมุนีทั้งหลายย่อมถึงซึ่งความสุข เมื่อความทุกข์ยากมีอยู่แก่สัตว์เหล่าใด พระองค์ทั้งหลายก็จักเข้าไปสู่ความทุกข์ยาก(เช่นกัน ) ความยินดีปรีดาของพระผู้จอมมุนีทั้งปวงย่อมมีขึ้นได้จากความยินดีของสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้น ในบรรดาภยันตรายเหล่านั้น (ภัยทั้งปวง) ได้ถูกพระมุนีเจ้าทั้งหลายทรงทำลายให้ย่อยยับแล้ว316
  69. ความยินดีด้วยความใคร่ทั้งปวง ย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้ถูกไฟแผดเผาอยู่โดยรอบ ฉันใดแม้เมื่อความทุกข์ยากของสัตว์ทั้งหลายยังมีอยู่อุบายแห่งความยินดีปรีดาย่อมไม่มีแด่พระผู้ทรงพระเมตตาทั้งหลาย ฉันนั้น
  70. ดังนั้น ด้วยความทุกข์ยากที่เกิดขึ้นแล้ว ความทุกข์อันใดถูกข้าพเจ้ากระทำไว้แล้วแด่พระผู้ทรงพระมหากรุณาธิคุณทั้งปวง บัดนี้ข้าพเจ้าจะขอประกาศซึ่งบาปนั้น ขอพระผู้จอมมุนีทั้งหลาย ผู้ทรงมีความทุกข์ทรมาน จงอดโทษ(ข้าพเจ้า ) ด้วยเถิด
  71. บัดนี้ด้วยความจงรักภักดีต่อพระตถาคตเจ้าทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอถึงซึ่งความเป็นทาสในโลกด้วยตนเองโดยสิ้นเชิง ขอหมู่ชนทั้งหลายจงวางเท้าไว้บนศีรษะของข้าพเจ้า หรือจะประทุษร้ายเข่นฆ่า(ข้าพเจ้า) ก็ตาม ขอพระผู้ทรงเป็นที่พึ่งของโลกได้โปรดยินดีปรีดาด้วยเถิด
  72. ด้วยว่า โลกทั้งปวงนี้ถูกพระพุทธเจ้า ผู้ทรงมีพระมหากรุณาคุณเหล่านั้น ได้ทรงครอบครองไว้แล้ว ความสงสัยจึงไม่มีอยู่พระนาถเจ้าทั้งหลายได้ทรงเห็นแล้วซึ่งสัตว์เหล่านั้น โดยรูปของสัตว์มิใช่หรือ ดังนั้น เพราะเหตุไร บุคคลจึงไม่เคารพนับถืออยู่อีกเล่า
  73. สิ่งนี้เอง (1) เป็นความโปรดปรานยินดีของพระตถาคตเจ้า สิ่งนี้เองคือความสำเร็จแห่งประโยชน์สุขของพระองค์สิ่งนี้เองเป็นการทำลายความทุกข์ของสัตว์โลกให้หมดไปดังนั้น ขอคำอธิฐานนี้แล จงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด

1 ความเคารพนับถือในสรรพสัตว์ทั้งหลาย

 

  1. เหมือนราชบุรุษพวกหนึ่งได้ประพฤติผิดต่อมหาชน มหาชนผู้มองเห็นการณ์ไกล ย่อมไม่สามารถจะทำการโต้ตอบได้ฉะนั้น
  2. เพราะว่า ราชบุรุษนั้นมิได้อยู่เพียงผู้เดียว อำนาจของพระราชาก็เป็นอำนาจของเขา ดังนั้นบุคคลไม่ควรเคารพบูชาซึ่งคนผู้มีอำนาจชั่ว (และ) ได้ประพฤติผิดต่อคนใดคนหนึ่งไว้
  3. เพราะเหตุว่า ยมบาลในนรกและพระผู้ทรงมีพระกรุณาคุณ เป็นพลังอำนาจของเขา ดังนั้นบุคคลควรยังสัตว์ทั้งหลายให้เคารพบูชา(เขา) เหมือนหนึ่งว่า ข้าราชบริพารเคารพนับถืออยู่ซึ่งพระราชาผู้มักพิโรธจัด ฉะนั้น
  4. พระราชาผู้มักพิโรธแล้ว จะพึงกระทำความทุกข์ไว้ในนรกได้อย่างไร ก็ในเมื่อ(ความทุกข์ยากในนรกนั้น) ถูกเสวยอยู่โดยบุคคลผู้ได้สร้างความเศร้าโศกไว้แก่สัตว์ทั้งหลายแล้ว
  5. พระราชาผู้ทรงยินดีโปรดปรานแล้ว จะพึงพระราชทานความเสมอภาคในความเป็นพระพุทธจ้าได้อย่างไร เพราะว่า (ความเสมอภาคในความเป็นพระพุทธเจ้านั้น ) ถูกรับรู้อยู่โดยบุคคลผู้ได้สร้างความสุขไว้แก่สัตว์ทั้งหลายแล้ว
  6. หากบุคคลพึงเป็นบ่อเกิดแห่งความเคารพบูชาในสัตว์ทั้งหลายไซร้ความเป็นพระพุทธจ้าก็จักมีขึ้นได้เพราะเหตุไร เจ้า(จิตใจ) จึงไม่เห็นอยู่ซึ่งความเจริญรุ่งเรือง เกียรติยศและตำแหน่งอันดีในโลกนี้เล่า
  7. เมื่อท่องเที่ยวอยู่ในสังสารวัฏ บุคคลผู้มีความอดทนย่อมได้รับซึ่งความสง่างาม ความไม่มีโรค ความปราโมทย์ยินดีและชีวิตอันยืนยาว(ประหนึ่งว่าได้รับอยู่) ซึ่งความสุขของพระเจ้าจักรพรรดิอันกว้างใหญ่ไพศาล ฉะนั้น

 

อ้างอิง (Reference)

Audio Source: 
http://www.bodhisvara.com/

Text Source: 

http://www.dsbcproject.org/node/4812

Text Version: 

Devanāgarī

Input Personnel: 

DSBC Staff

Input Date: 

2005

Proof Reader: 

Miroj Shakya

Supplier: 

Nagarjuna Institute of Exact Methods

Sponsor: 

University of the West

อ้างอิง

1. Digital Sanskrit Buddhist Canon, 2013, Bodhicaryāvatāra [Online], Available: http://www.dsbcproject.org[2016, May 26].

2. BODHISVARA, 2013, Śāntideva’s Bodhicaryāvatāra [Online], Available: http://www.bodhisvara.com/[2016, May 26].

3.พระมหาวิชาญ กำเหนิดกลับ, 2549, การศึกษาเชิงวิเคราะห์คัมภีร์โพธิจรรยาวตาร , วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาภาษาสันสกฤต ภาควิชาภาษาตะวันออก มหาวิทยาลัยศิลปากร หน้า ภาคผนวก ข คัมภีร์โพธิจรรยาวตาร ฉบับแปล

อ่านเอกสารตัวเต็มจากสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร
http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/thapra/PhramahaVichan_Kamnerdklab/Fulltext.pdf

เพื่อการศึกษาภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License
แสดงที่มาข้อมูลที่มาของแหล่งเอกสาร-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0  (CC BY-NC-ND 4.0)

Loading

Be the first to comment on "คัมภีร์โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ ปริเฉทที่ ๖"

Leave a comment