คัมภีร์โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ ปริเฉทที่ ๙

แบ่งปันในสังคมออนไลน์

โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ

ปริเฉทที่ ๙ ชื่อ  ปรัชญาบารมี

Buddha-Weekly-chenrezig-avalokitesvara-with-tara-and-amitabha-Buddhism

โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ ปริเฉทที่ ๙ ปรัชญาบารมี

ในปริเฉทที่ ๙ ท่านศานติเทวะอธิบายถึงลักษณะของความรู้ ไว้ 2 ประการคือ ความรู้ระดับสมมุติสัจจะ และ ความรู้ระดับปรมัตถสัจจะโดยกล่าวอธิบายไว้ว่า ความรู้ ในขั้นสมมุติสัจจะนั้น เป็นความรู้ ของปุถุชน เป็นเพียงการสมมุติชื่อแห่งสภาวธรรมทั้งหลาย เพื่อประโยชน์ให้ปุถุชนได้เข้าใจง่ายขึ้นตามโลกิยวิสัยเท่านั้น ส่วน ขั้นปรมัตถสัจจะ ซึ่งเป็นความรู้ จริงอันสูงสุด อยู่เหนือความรู้ ระดับสมมุติทั้งปวง

ต้นฉบับจากโครงการ DSBC ปริวรรตเป็นไทยโดยโปรแกรมไทย-สันสคริปท์ เสียงจากโครงการ Bodhisvara ในส่วนคำแปลได้รับอนุญาตจากผู้แปลให้เผยแพร่โดย พระมหาวิชาญ กำเหนิดกลับ

[คลิกเพื่อเปิดเสียง]

ปริวรรตเป็นไทยคงรูป

๙ ปฺรชฺญาปารมิตา นาม นวมะ ปริจฺเฉทะ๚

อิมํ ปริกรํ สรฺวํ ปฺรชฺญารฺถํ หิ มุนิรฺชเคาฯ

ตสฺมาทุตฺปาทเยตฺปฺรชฺญํา ทุะขนิวฤตฺติกางฺกฺษยา๚๑๚

สํวฤติะ ปรมารฺถศฺจ สตฺยทฺวยมิทํ มตมฺฯ

พุทฺเธรโคจรสฺตตฺตฺวํ พุทฺธิะ สํวฤติรุจฺยเต๚๒๚

ตตฺร โลโก ทฺวิธา ทฤษฺโฏ โยคี ปฺรากฤตกสฺตถาฯ

ตตฺร ปฺรากฤตโก โลโก โยคิโลเกน พาธฺยเต๚๓๚

พาธฺยนฺเต ธีวิเศเษณ โยคิโน’ปฺยุตฺตโรตฺตไระฯ

ทฤษฺฏานฺเตโนภเยษฺเฏน การฺยารฺถมวิจารตะ๚๔๚

โลเกน ภาวา ทฤศฺยนฺเต กลฺปฺยนฺเต จาปิ ตตฺตฺวตะฯ

น ตุ มายาวทิตฺยตฺร วิวาโท โยคิโลกโยะ๚๕๚

ปฺรตฺยกฺษมปิ รูปาทิ ปฺรสิทฺธฺยา น ปฺรมาณตะฯ

อศุจฺยาทิษุ ศุจฺยาทิปฺรสิทฺธิริว สา มฤษา๚๖๚

โลกาวตารณารฺถํ จ ภาวา นาเถน เทศิตาะฯ

ตตฺตฺวตะ กฺษณิกา ไนเต สํวฤตฺยา เจทฺวิรุธฺยเต๚๗๚

น โทโษ โยคิสํวฤตฺยา โลกาตฺเต ตตฺตฺวทรฺศินะฯ

อนฺยถา โลกพาธา สฺยาทศุจิสฺตฺรีนิรูปเณ๚๘๚

มาโยปมาชฺชินาตฺปุณฺยํ สทฺภาเว’ปิ กถํ ยถาฯ

ยทิ มาโยปมะ สตฺตฺวะ กิํ ปุนรฺชายเต มฤตะ๚๙๚

ยาวตฺปฺรตฺยยสามคฺรี ตาวนฺมายาปิ วรฺตเตฯ

ทีรฺฆสํตานมาเตฺรณ กถํ สตฺตฺโว’สฺติ สตฺยตะ๚๑๐๚

มายาปุรุษฆาตาเทา จิตฺตาภาวานฺน ปาปกมฺฯ

จิตฺตมายาสเมเต ตุ ปาปปุณฺยสมุทฺภวะ๚๑๑๚

มนฺตฺราทีนามสามรฺถฺยานฺน มายาจิตฺตสํภวะฯ

สาปิ นานาวิธา มายา นานาปฺรตฺยยสํภวาฯ

ไนกสฺย สรฺวสามรฺถฺยํ ปฺรตฺยยสฺยาสฺติ กุตฺรจิตฺ๚๑๒๚

นิรฺวฤตะ ปรมารฺเถน สํวฤตฺยา ยทิ สํสเรตฺฯ

พุทฺโธ’ปิ สํสเรเทวํ ตตะ กิํ โพธิจรฺยยา๚๑๓๚

ปฺรตฺยยานามนุจฺเฉเท มายาปฺยุจฺฉิทฺยเต น หิฯ

ปฺรตฺยยานํา ตุ วิจฺเฉทาตฺสํวฤตฺยาปิ น สํภวะ๚๑๔๚

ยทา น ภฺรานฺติรปฺยสฺติ มายา เกโนปลภฺยเต๚๑๕๚

ยทา มาไยว เต นาสฺติ ตทา กิมุปลภฺยเตฯ

จิตฺตสฺไยว ส อากาโร ยทฺยปฺยนฺโย’สฺติ ตตฺตฺวตะ๚๑๖๚

จิตฺตเมว ยทา มายา ตทา กิํ เกน ทฤศฺยเตฯ

อุกฺตํ จ โลกนาเถน จิตฺตํ จิตฺตํ น ปศฺยติฯ

น จฺฉินตฺติ ยถาตฺมานมสิธารา ตถา มนะ๚๑๗๚

อาตฺมภาวํ ยถา ทีปะ สํปฺรกาศยตีติ เจตฺฯ

ไนว ปฺรกาศฺยเต ทีโป ยสฺมานฺน ตมสาวฤตะ๚๑๘๚

น หิ สฺผฏิกวนฺนีลํ นีลตฺเว’นฺยมเปกฺษเตฯ

ตถา กิํจิตฺปราเปกฺษมนเปกฺษํ จ ทฤศฺยเต๚๑๙๚

อนีลตฺเว น ตนฺนีลํ นีลเหตุรฺยเถกฺษฺยเตฯ

นีลเมว หิ โก นีลํ กุรฺยาทาตฺมานมาตฺมนา๚๒๐๚

นีลเมว หิ โก นีลํ กุรฺยาทาตฺมานมาตฺมนาฯ

อนีลตฺเว น ตนฺนีลํ กุรฺยาทาตฺมนมาตฺมนา๚๒๑๚

ทีปะ ปฺรกาศต อิติ ชฺญาตฺวา ชฺญาเนน กถฺยเตฯ

พุทฺธิะ ปฺรกาศต อิติ ชฺญาตฺเวทํ เกน กถฺยเต๚๒๒๚

ปฺรกาศา วาปฺรกาศา วา ยทา ทฤษฺฏา น เกนจิตฺฯ

วนฺธฺยาทุหิตฤลีเลว กถฺยมานาปิ สา มุธา๚๒๓๚

ยทิ นาสฺติ สฺวสํวิตฺติรฺวิชฺญานํ สฺมรฺยเต กถมฺฯ

อนฺยานุภูเต สํพนฺธาตฺ สฺมฤติราขุวิษํ ยถา๚๒๔๚

ปฺรตฺยยานฺตรยุกฺตสฺย ทรฺศนาตฺสฺวํ ปฺรกาศเตฯ

สิทฺธาญฺชนวิเธรฺทฤษฺโฏ ฆโฏ ไนวาญฺชนํ ภเวตฺ๚๒๕๚

ยถา ทฤษฺฏํ ศฺรุตํ ชฺญาตํ ไนเวห ปฺรติษิธฺยเตฯ

สตฺยตะ กลฺปนา ตฺวตฺร ทุะขเหตุรฺนิวารฺยเต๚๒๖๚

จิตฺตาทนฺยา น มายา เจนฺนาปฺยนนฺเยติ กลฺปฺยเตฯ

วสฺตุ เจตฺสา กถํ นานฺยานนฺยา เจนฺนาสฺติ วสฺตุตะ๚๒๗๚

อสตฺยปิ ยถา มายา ทฤศฺยา ทฺรษฺฏฤ ตถา มนะฯ

วสฺตฺวาศฺรยศฺเจตฺสํสาระ โส’นฺยถากาศวทฺภเวตฺ๚๒๘๚

วสฺตฺวาศฺรเยณาภาวสฺย กฺริยาวตฺตฺวํ กถํ ภเวตฺฯ

อสตฺสหายเมกํ หิ จิตฺตมาปทฺยเต ตว๚๒๙๚

คฺราหฺยมุกฺตํ ยทา จิตฺตํ ตทา สรฺเว ตถาคตาะฯ

เอวํ จ โก คุโณ ลพฺธศฺจิตฺตมาเตฺร’ปิ กลฺปิเต๚๓๐๚

มาโยปมตฺเว’ปิ ชฺญาเต กถํ เกฺลโศ นิวรฺตเตฯ

ยทา มายาสฺตฺริยํา ราคสฺตตฺกรฺตุรปิ ชายเต๚๓๑๚

อปฺรหีณา หิ ตตฺกรฺตุรฺชฺเญยสํเกฺลศวาสนาฯ

ตทฺทฤษฺฏิกาเล ตสฺยาโต ทุรฺพลา ศูนฺยวาสนา๚๓๒๚

ศูนฺยตาวาสนาธานาทฺธียเต ภาววาสนาฯ

กิํจินฺนาสฺตีติ จาภฺยาสาตฺสาปิ ปศฺจาตฺปฺรหียเต๚๓๓๚

ยทา น ลภฺยเต ภาโว โย นาสฺตีติ ปฺรกลฺปฺยเตฯ

ตทา นิราศฺรโย’ภาวะ กถํ ติษฺเฐนฺมเตะ ปุระ๚๓๔๚

ยทา น ภาโว นาภาโว มเตะ สํติษฺฐเต ปุระฯ

ตทานฺยคตฺยภาเวน นิราลมฺพา ปฺรศามฺยติ๚๓๕๚

จินฺตามณิะ กลฺปตรุรฺยเถจฺฉาปริปูรณะฯ

วิเนยปฺรณิธานาภฺยํา ชินพิมฺพํ ตเถกฺษฺยเต๚๓๖๚

ยถา คารุฑิกะ สฺตมฺภํ สาธยิตฺวา วินศฺยติฯ

ส ตสฺมิํศฺจิรนษฺเฏ’ปิ วิษาทีนุปศามเยตฺ๚๓๗๚

โพธิจรฺยานุรูปฺเยณ ชินสฺตมฺโภ’ปิ สาธิตะฯ

กโรติ สรฺวการฺยาณิ โพธิสตฺตฺเว’ปิ นิรฺวฤเต๚๓๘๚

อจิตฺตเก กฤตา ปูชา กถํ ผลวตี ภเวตฺฯ

ตุลฺไยว ปฐฺยเต ยสฺมาตฺติษฺฐโต นิรฺวฤตสฺย จ๚๓๙๚

อาคมาจฺจ ผลํ ตตฺร สํวฤตฺยา ตตฺตฺวโต’ปิ วาฯ

สตฺยพุทฺเธ กฤตา ปูชา สผเลติ กถํ ยถา๚๔๐๚

สตฺยทรฺศนโต มุกฺติะ ศูนฺยตาทรฺศเนน กิมฺฯ

น วินาเนน มารฺเคณ โพธิริตฺยาคโม ยตะ๚๔๑๚

นนฺวสิทฺธํ มหายานํ กถํ สิทฺธสฺตฺวทาคมะฯ

ยสฺมาทุภยสิทฺโธ’เสา น สิทฺโธ’เสา ตวาทิตะ๚๔๒๚

ยตฺปฺรตฺยยา จ ตตฺราสฺถา มหายาเน’ปิ ตํา กุรุฯ

อนฺโยภเยษฺฏสตฺยตฺเว เวทาเทรปิ สตฺยตา๚๔๓๚

สวิวาทํ มหายานมิติ เจทาคมํ ตฺยชฯ

ตีรฺถิไกะ สวิวาทตฺวาตฺสฺไวะ ปไรศฺจาคมานฺตรมฺ๚๔๔๚

ศาสนํ ภิกฺษุตามูลํ ภิกฺษุไตว จ ทุะสฺถิตาฯ

สาวลมฺพนจิตฺตานํา นิรฺวาณมปิ ทุะสฺถิตมฺ๚๔๕๚

เกฺลศปฺรหาณานฺมุกฺติศฺเจตฺตทนนฺตรมสฺตุ สาฯ

ทฤษฺฏํ จ เตษุ สามรฺถฺยํ นิษฺเกฺลศสฺยาปิ กรฺมณะ๚๔๖๚

ตฤษฺณา ตาวทุปาทานํ นาสฺติ เจตฺสํปฺรธารฺยเตฯ

กิมกฺลิษฺฏาปิ ตฤษฺไณษํา นาสฺติ สํโมหวตฺ สตี๚๔๗๚

เวทนาปฺรตฺยยา ตฤษฺณา เวทไนษํา จ วิทฺยเตฯ

สาลมฺพเนน จิตฺเตน สฺถาตวฺยํ ยตฺร ตตฺร วา๚๔๘๚

วินา ศูนฺยตยา จิตฺตํ พทฺธมุตฺปทฺยเต ปุนะฯ

ยถาสํชฺญิสมาปตฺเตา ภาวเยตฺเตน ศูนฺยตามฺ๚๔๙๚

สกฺติตฺราสาตฺตฺวนิรฺมุกฺตฺยา สํสาเร สิธฺยติ สฺถิติะฯ

โมเหน ทุะขินามรฺเถ ศูนฺยตายา อิทํ ผลมฺ๚๕๓๚

ตเทวํ ศูนฺยตาปเกฺษ ทูษณํ โนปปทฺยเตฯ

ตสฺมานฺนิรฺวิจิกิตฺเสน ภาวนีไยว ศูนฺยตา๚๕๔๚

เกฺลศชฺเญยาวฤติตมะปฺรติปโกฺษ หิ ศูนฺยตาฯ

ศีฆฺรํ สรฺวชฺญตากาโม น ภาวยติ ตํา กถมฺ๚๕๕๚

ยทฺทุะขชนนํ วสฺตุ ตฺราสสฺตสฺมาตฺปฺรชายตามฺฯ

ศูนฺยตา ทุะขศมนี ตตะ กิํ ชายเต ภยมฺ๚๕๖๚

ยตสฺตโต วาสฺตุ ภยํ ยทฺยหํ นาม กิํจนฯ

อหเมว จ กิํจิจฺเจทฺภยํ กสฺย ภวิษฺยติ๚๕๗๚

ทนฺตเกศนขา นาหํ นาสฺถิ นาปฺยสฺมิ โศณิตมฺฯ

น สิํฆาณํ น จ เศฺลษฺมา น ปูยํ ลสิกาปิ วา๚๕๘๚

นาหํ วสา น จ สฺเวโท น เมโท’สฺตฺราณิ นาปฺยหมฺฯ

น จาหมนฺตฺรนิรฺคุณฺฑี คูถมูตฺรมหํ น จ๚๕๙๚

นาหํ มําสํ น จ สฺนายุ โนษฺมา วายุรหํ น จฯ

น จ จฺฉิทฺราณฺยหํ นาปิ ษฑฺ วิชฺญานานิ สรฺวถา๚๖๐๚

ศพฺทชฺญานํ ยทิ ตทา ศพฺโท คฤหฺเยต สรฺวทาฯ

ชฺเญยํ วินา ตุ กิํ เวตฺติ เยน ชฺญานํ นิรุจฺยเต๚๖๑๚

อชานานํ ยทิ ชฺญานํ กาษฺฐํ ชฺญานํ ปฺรสชฺยเตฯ

เตนาสํนิหิตชฺเญยํ ชฺญานํ นาสฺตีติ นิศฺจยะ๚๖๒๚

ตเทว รูปํ ชานาติ ตทา กิํ น ศฤโณตฺยปิฯ

ศพฺทสฺยาสํนิธานาจฺเจตฺตตสฺตชฺชฺญานมปฺยสตฺ๚๖๓๚

ศพฺทคฺรหณรูปํ ยตฺตทฺรูปคฺรหณํ กถมฺฯ

เอกะ ปิตา จ ปุตฺรศฺจ กลฺปฺยเต น ตุ ตตฺตฺวตะ๚๖๔๚

สตฺตฺวํ รชสฺตโม วาปิ น ปุโตฺร น ปิตา ยตะฯ

ศพฺทคฺรหณยุกฺตสฺตุ สฺวภาวสฺตสฺย เนกฺษฺยเต๚๖๕๚

ตเทวานฺเยน รูเปณ นฏวตฺโส’ปฺยศาศฺวตะฯ

ส เอวานฺยสฺวภาวศฺเจทปูรฺเวยํ ตเทกตา๚๖๖๚

อนฺยทฺรูปมสตฺยํ เจนฺนิชํ ตทฺรูปมุจฺยตามฺฯ

ชฺญานตา เจตฺตตะ สรฺวปุํสาไมกฺยํ ปฺรสชฺยเต๚๖๗๚

เจตนาเจตเน ไจกฺยํ ตโยรฺเยนาสฺติตา สมาฯ

วิเศษศฺจ ยทา มิถฺยา กะ สาทฤศฺยาศฺรยสฺตทา๚๖๘๚

อเจตนศฺจ ไนวาหมาไจตนฺยาตฺปฏาทิวตฺฯ

อถ ชฺญศฺเจตนาโยคาทชฺโญ นษฺฏะ ปฺรสชฺยเต๚๖๙๚

อถาวิกฤต เอวาตฺมา ไจตนฺเยนาสฺย กิํ กฤตมฺฯ

อชฺญสฺย นิษฺกฺริยสฺไยวมากาศสฺยาตฺมตา มตา๚๗๐๚

น กรฺมผลสํพนฺโธ ยุกฺตศฺเจทาตฺมนา วินาฯ

กรฺม กฤตฺวา วินษฺเฏ หิ ผลํ กสฺย ภวิษฺยติ๚๗๑๚

ทฺวโยรปฺยาวโยะ สิทฺเธ ภินฺนาธาเร กฺริยาผเลฯ

นิรฺวฺยาปารศฺจ ตตฺราตฺเมตฺยตฺร วาโท วฤถา นนุ๚๗๒๚

เหตุมานฺ ผลโยคีติ ทฤศฺยเต ไนษ สํภวะฯ

สํตานสฺไยกฺยมาศฺริตฺย กรฺตา โภกฺเตติ เทศิตมฺ๚๗๓๚

อตีตานาคตํ จิตฺตํ นาหํ ตทฺธิ น วิทฺยเตฯ

อโถตฺปนฺนมหํ จิตฺตํ นษฺเฏ’สฺมินฺนาสฺตฺยหํ ปุนะ๚๗๔๚

ยไถว กทลีสฺตมฺโภ น กศฺจิทฺภาคศะ กฤตะฯ

ตถาหมปฺยสทฺภูโต มฤคฺยมาโณ วิจารตะ๚๗๕๚

ยทิ สตฺตฺโว น วิทฺเยต กสฺโยปริ กฤเปติ เจตฺฯ

การฺยารฺถมภฺยุเปเตน โย โมเหน ปฺรกลฺปิตะ๚๗๖๚

การฺยํ กสฺย น เจตฺสตฺตฺวะ สตฺยมีหา ตุ โมหตะฯ

ทุะขวฺยุปศมารฺถํ ตุ การฺยโมโห น วารฺยเต๚๗๗๚

ทุะขเหตุรหํการ อาตฺมโมหาตฺตุ วรฺธเตฯ

ตโต’ปิ น นิวรฺตฺยศฺเจตฺ วรํ ไนราตฺมฺยภาวนา๚๗๘๚

กาโย น ปาเทา น ชงฺฆา โนรู กายะ กฏิรฺน จฯ

โนทรํ นาปฺยยํ ปฤษฺฐํ โนโร พาหู น จาปิ สะ๚๗๙๚

น หสฺเตา นาปฺยยํ ปารฺศฺเวา น กเกฺษา นําสลกฺษณะฯ

น คฺรีวา น ศิระ กายะ กาโย’ตฺร กตระ ปุนะ๚๘๐๚

ยทิ สรฺเวษุ กาโย’ยเมกเทเศน วรฺตเตฯ

อํศา อํเศษุ วรฺตนฺเต ส จ กุตฺร สฺวยํ สฺถิตะ๚๘๑๚

สรฺวาตฺมนา เจตฺสรฺวตฺร สฺถิตะ กายะ กราทิษุฯ

กายาสฺตาวนฺต เอว สฺยุรฺยาวนฺตสฺเต กราทยะ๚๘๒๚

ไนวานฺตรฺน พหิะ กายะ กถํ กายะ กราทิษุฯ

กราทิภฺยะ ปฤถงฺ นาสฺติ กถํ นุ ขลุ วิทฺยเต๚๘๓๚

ตนฺนาสฺติ กาโย โมหาตฺตุ กายพุทฺธิะ กราทิษุฯ

สํนิเวศวิเศเษณ สฺถาเณา ปุรุษพุทฺธิวตฺ๚๘๔๚

ยาวตฺปฺรตฺยยสามคฺรี ตาวตฺกายะ ปุมานิวฯ

เอวํ กราเทา สา ยาวตฺตาวตฺกาโย’ตฺร ทฤศฺยเต๚๘๕๚

เอวมงฺคุลิปุญฺชตฺวาตฺปาโท’ปิ กตโร ภเวตฺฯ

โส’ปิ ปรฺวสมูหตฺวาตฺ ปรฺวาปิ สฺวําศเภทตะ๚๘๖๚

อํศา อปฺยณุเภเทน โส’ปฺยณุรฺทิคฺวิภาคตะฯ

ทิคฺวิภาโค นิรํศตฺวาทากาศํ เตน นาสฺตฺยณุะ๚๘๗๚

เอวํ สฺวปฺโนปเม รูเป โก รชฺเยต วิจารกะฯ

กายศฺไจวํ ยทา นาสฺติ ตทา กา สฺตฺรี ปุมําศฺจ กะ๚๘๘๚

ยทฺยสฺติ ทุะขํ ตตฺตฺเวน ปฺรหฤษฺฏานฺ กิํ น พาธเตฯ

โศกาทฺยารฺตาย มฤษฺฏาทิ สุขํ เจตฺกิํ น โรจเต๚๘๙๚

พลียสาภิภูตตฺวาทฺยทิ ตนฺนานุภูยเตฯ

เวทนาตฺวํ กถํ ตสฺย ยสฺย นานุภวาตฺมตา๚๙๐๚

อสฺติ สูกฺษฺมตยา ทุะขํ สฺเถาลฺยํ ตสฺย หฤตํ นนุฯ

ตุษฺฏิมาตฺราปรา เจตฺสฺยาตฺตสฺมาตฺ สาปฺยสฺย สูกฺษฺมตา๚๙๑๚

วิรุทฺธปฺรตฺยโยตฺปตฺเตา ทุะขสฺยานุทโย ยทิฯ

กลฺปนาภินิเวโศ หิ เวทเนตฺยาคตํ นนุ๚๙๒๚

อต เอว วิจาโร’ยํ ปฺรติปโกฺษ’สฺย ภาวฺยเตฯ

วิกลฺปเกฺษตฺรสํภูตธฺยานาหารา หิ โยคินะ๚๙๓๚

สานฺตราวินฺทฺริยารฺเถา เจตฺสํสรฺคะ กุต เอตโยะฯ

นิรนฺตรตฺเว’ปฺเยกตฺวํ กสฺย เกนาสฺตุ สํคติะ๚๙๔๚

นาโณรเณา ปฺรเวโศ’สฺติ นิรากาศะ สมศฺจ สะฯ

อปฺรเวเศ น มิศฺรตฺวมมิศฺรตฺเว น สํคติะ๚๙๕๚

นิรํศสฺย จ สํสรฺคะ กถํ นาโมปปทฺยเตฯ

สํสรฺเค จ นิรํศตฺวํ ยทิ ทฤษฺฏํ นิทรฺศย๚๙๖๚

วิชฺญานสฺย ตฺวมูรฺตสฺย สํสรฺโค ไนว ยุชฺยเตฯ

สมูหสฺยาปฺยวสฺตุตฺวาทฺยถา ปูรฺวํ วิจาริตมฺ๚๙๗๚

ตเทวํ สฺปรฺศนาภาเว เวทนาสํภวะ กุตะฯ

กิมรฺถมยมายาสะ พาธา กสฺย กุโต ภเวตฺ๚๙๘๚

ยทา น เวทกะ กศฺจิทฺเวทนา จ น วิทฺยเตฯ

ตทาวสฺถามิมํา ทฤษฺฏฺวา ตฤษฺเณ กิํ น วิทีรฺยเส๚๙๙๚

ทฤศฺยเต สฺปฤศฺยเต จาปิ สฺวปฺนมาโยปมาตฺมนาฯ

จิตฺเตน สหชาตตฺวาทฺเวทนา เตน เนกฺษฺยเต๚๑๐๐๚

ปูรฺวํ ปศฺจาจฺจ ชาเตน สฺมรฺยเต นานุภูยเตฯ

สฺวาตฺมานํ นานุภวติ น จานฺเยนานุภูยเต๚๑๐๑๚

น จาสฺติ เวทกะ กศฺจิทฺเวทนาโต น ตตฺตฺวตะฯ

นิราตฺมเก กลาเป’สฺมินฺ ก เอวํ พาธฺยเต’นยา๚๑๐๒๚

เนนฺทฺริเยษุ น รูปาเทา นานฺตราเล มนะ สฺถิตมฺฯ

นาปฺยนฺตรฺน พหิศฺจิตฺตมนฺยตฺราปิ น ลภฺยเต๚๑๐๓๚

ยนฺน กาเย น จานฺยตฺร น มิศฺรํ น ปฤถกฺ กฺวจิตฺฯ

ตนฺน กิํจิทตะ สตฺตฺวาะ ปฺรกฤตฺยา ปรินิรฺวฤตาะ๚๑๐๔๚

ชฺเญยาตฺปูรฺวํ ยทิ ชฺญานํ กิมาลมฺพฺยาสฺย สํภวะฯ

ชฺเญเยน สห เจชฺชฺญานํ กิมาลมฺพฺยาสฺย สํภวะ๚๑๐๕๚

อถ ชฺเญยาทฺภเวตฺ ปศฺจาตฺ ตทา ชฺญานํ กุโต ภเวตฺฯ

เอวํ จ สรฺวธรฺมาณามุตฺปตฺติรฺนาวสียเต๚๑๐๖๚

ยทฺเยวํ สํวฤติรฺนาสฺติ ตตะ สตฺยทฺวยํ กุตะฯ

อถ สาปฺยนฺยสํวฤตฺยา สฺยาตฺสตฺตฺโว นิรฺวฤตะ กุตะ๚๑๐๗๚

ปรจิตฺตวิกลฺโป’เสา สฺวสํวฤตฺยา ตุ นาสฺติ สะฯ

ส ปศฺจานฺนิยตะ โส’สฺติ น เจนฺนาสฺตฺเยว สํวฤติะ๚๑๐๘๚

กลฺปนา กลฺปิตํ เจติ ทฺวยมนฺโยนฺยนิศฺริตมฺฯ

ยถาปฺรสิทฺธมาศฺริตฺย วิจาระ สรฺว อุจฺยเต๚๑๐๙๚

วิจาริเตน ตุ ยทา วิจาเรณ วิจารฺยเตฯ

ตทานวสฺถา ตสฺยาปิ วิจารสฺย วิจารณาตฺ๚๑๑๐๚

วิจาริเต วิจารฺเย ตุ วิจารสฺยาสฺติ นาศฺรยะฯ

นิราศฺริตตฺวานฺโนเทติ ตจฺจ นิรฺวาณมุจฺยเต๚๑๑๑๚

ยสฺย ตฺเวตทฺทูยํ สตฺยํ ส เอวาตฺยนฺตทุะสฺถิตะฯ

ยทิ ชฺเญยวศาทรฺโถ ชฺญานาสฺติตฺเว ตุ กา คติะ๚๑๑๒๚

อถ ชฺเญยวศาชฺชฺญานํ ชฺเญยาสฺติตฺเว ตุ กา คติะฯ

อถานฺโยนฺยวศาตฺสตฺตฺวมภาวะ สฺยาทฺทูโยรปิ๚๑๑๓๚

ปิตา เจนฺน วินา ปุตฺราตฺกุตะ ปุตฺรสฺย สํภวะฯ

ปุตฺราภาเว ปิตา นาสฺติ ตถาสตฺตฺวํ ตโยรฺทฺวโยะ๚๑๑๔๚

องฺกุโร ชายเต พีชาทฺพีชํ เตไนว สูจฺยเตฯ

ชฺเญยาชฺชฺญาเนน ชาเตน ตตฺสตฺตา กิํ น คมฺยเต๚๑๑๕๚

องฺกุราทนฺยโต ชฺญานาทฺพีชมสฺตีติ คมฺยเตฯ

ชฺญานาสฺติตฺวํ กุโต ชฺญาตํ ชฺเญยํ ยตฺเตน คมฺยเต๚๑๑๖๚

โลกะ ปฺรตฺยกฺษตสฺตาวตฺสรฺวํ เหตุมุทีกฺษเตฯ

ปทฺมนาลาทิเภโท หิ เหตุเภเทน ชายเต๚๑๑๗๚

กิํกฤโต เหตุเภทศฺเจตฺ ปูรฺวเหตุปฺรเภทตะฯ

กสฺมาจฺเจตฺผลโท เหตุะ ปูรฺวเหตุปฺรภาวตะ๚๑๑๘๚

อีศฺวโร ชคโต เหตุะ วท กสฺตาวทีศฺวระฯ

ภูตานิ เจทฺภวตฺเววํ นามมาเตฺร’ปิ กิํ ศฺรมะ๚๑๑๙๚

อปิ ตฺวเนเก’นิตฺยาศฺจ นิศฺเจษฺฏา น จ เทวตาะฯ

ลงฺฆฺยาศฺจาศุจยศฺไจว กฺษฺมาทโย น ส อีศฺวระ๚๑๒๐๚

นากาศมีโศ’เจษฺฏตฺวาตฺ นาตฺมา ปูรฺวนิเษธตะฯ

อจินฺตฺยสฺย จ กรฺตฤตฺวมปฺยจินฺตฺยํ กิมุจฺยเต๚๑๒๑๚

เตน กิํ สฺรษฺฏุมิษฺฏํ จ อาตฺมา เจตฺ นนฺวเสา ธฺรุวะฯ

กฺษฺมาทิสฺวภาว อีศศฺจ ชฺญานํ ชฺเญยาทนาทิ จ๚๑๒๒๚

กรฺมณะ สุขทุะเข จ วท กิํ เตน นิรฺมิตมฺฯ

เหโตราทิรฺน เจทสฺติ ผลสฺยาทิะ กุโต ภเวตฺ๚๑๒๓๚

กสฺมาตฺสทา น กุรุเต น หิ โส’นฺยมเปกฺษเตฯ

เตนากฤโต’นฺโย นาสฺตฺเยว เตนาเสา กิมเปกฺษตามฺ๚๑๒๔๚

อเปกฺษเต เจตฺสามคฺรีํ เหตุรฺน ปุนรีศฺวระฯ

นากรฺตุมีศะ สามคฺรฺยํา [น กรฺตุํ ตทภาวตะ]๚๑๒๕๚

กโรตฺยนิจฺฉนฺนีศศฺเจตฺปรายตฺตะ ปฺรสชฺยเตฯ

อิจฺฉนฺนปีจฺฉายตฺตะ สฺยาตฺ กุรฺวตะ กุต อีศตา๚๑๒๖๚

เย’ปิ นิตฺยานณูนาหุสฺเต’ปิ ปูรฺวํ นิวาริตาะฯ

สําขฺยาะ ปฺรธานมิจฺฉนฺติ นิตฺยํ โลกสฺย การณมฺ๚๑๒๗๚

สตฺตฺวํ รชสฺตมศฺเจติ คุณา อวิษมสฺถิตาะฯ

ปฺรธานมิติ กถฺยนฺเต วิษไมรฺชคทุจฺยเต๚๑๒๘๚

เอกสฺย ตฺริสฺวภาวตฺวมยุกฺตํ เตน นาสฺติ ตตฺฯ

เอวํ คุณา น วิทฺยนฺเต ปฺรตฺเยกํ เต’ปิ หิ ตฺริธา๚๑๒๙๚

คุณาภาเว จ ศพฺทาเทรสฺติตฺวมติทูรตะฯ

อเจตเน จ วสฺตฺราเทา สุขาเทรปฺยสํภวะ๚๑๓๐๚

ตทฺเธตุรูปา ภาวาศฺเจนฺนนุ ภาวา วิจาริตาะฯ

สุขาทฺเยว จ เต เหตุะ น จ ตสฺมาตฺปฏาทยะ๚๑๓๑๚

ปฏาเทสฺตุ สุขาทิ สฺยาตฺตทภาวาตฺสุขาทฺยสตฺฯ

สุขาทีนํา จ นิตฺยตฺวํ กทาจินฺโนปลภฺยเต๚๑๓๒๚

สตฺยาเมว สุขวฺยกฺเตา สํวิตฺติะ กิํ น คฤหฺยเตฯ

ตเทว สูกฺษฺมตํา ยาติ สฺถูลํ สูกฺษฺมํ จ ตตฺกถมฺ๚๑๓๓๚

สฺเถาลฺยํ ตฺยกฺตฺวา ภเวตฺสูกฺษฺมมนิตฺเย สฺเถาลฺยสูกฺษฺมเตฯ

สรฺวสฺย วสฺตุนสฺตทฺวตฺกิํ นานิตฺยตฺวมิษฺยเต๚๑๓๔๚

น สฺเถาลฺยํ เจตฺสุขาทนฺยตฺ สุขสฺยานิตฺยตา สฺผุฏมฺฯ

นาสทุตฺปทฺยเต กิํจิทสตฺตฺวาทิติ เจนฺมตมฺฯ

วฺยกฺตสฺยาสต อุตฺปตฺติรกามสฺยาปิ เต สฺถิตา๚๑๓๕๚

อนฺนาโท’เมธฺยภกฺษะ สฺยาตฺ ผลํ เหเตา ยทิ สฺถิตมฺฯ

ปฏารฺเฆไณว กรฺปาสพีชํ กฺรีตฺวา นิวสฺยตามฺ๚๑๓๖๚

โมหาจฺเจนฺเนกฺษเต โลกะ ตตฺตฺวชฺญสฺยาปิ สา สฺถิติะ๚๑๓๗๚

โลกสฺยาปิ จ ตชฺชฺญานมสฺติ กสฺมานฺน ปศฺยติฯ

โลกาปฺรมาณตายํา เจตฺ วฺยกฺตทรฺศนมปฺยสตฺ๚๑๓๘๚

ปฺรมาณมปฺรมาณํ เจนฺนนุ ตตฺปฺรมิตํ มฤษาฯ

ตตฺตฺวตะ ศูนฺยตา ตสฺมาทฺภาวานํา โนปปทฺยเต๚๑๓๙๚

กลฺปิตํ ภาวมสฺปฤษฺฏฺวา ตทภาโว น คฤหฺยเตฯ

ตสฺมาทฺภาโว มฤษา โย หิ ตสฺยาภาวะ สฺผุฏํ มฤษา๚๑๔๐๚

ตสฺมาตฺสฺวปฺเน สุเต นษฺเฏ ส นาสฺตีติ วิกลฺปนาฯ

ตทฺภาวกลฺปโนตฺปาทํ วิพธฺนาติ มฤษา จ สา๚๑๔๑๚

ตสฺมาเทวํ วิจาเรณ นาสฺติ กิํจิทเหตุตะฯ

น จ วฺยสฺตสมสฺเตษุ ปฺรตฺยเยษุ วฺยวสฺถิตมฺ๚๑๔๒๚

อนฺยโต นาปิ จายาตํ น ติษฺฐติ น คจฺฉติฯ

มายาตะ โก วิเศโษ’สฺย ยนฺมูไฒะ สตฺยตะ กฤตมฺ๚๑๔๓๚

มายยา นิรฺมิตํ ยจฺจ เหตุภิรฺยจฺจ นิรฺมิตมฺฯ

อายาติ ตตฺกุตะ กุตฺร ยาติ เจติ นิรูปฺยตามฺ๚๑๔๔๚

ยทนฺยสํนิธาเนน ทฤษฺฏํ น ตทภาวตะฯ

ปฺรติพิมฺพสเม ตสฺมินฺ กฤตฺริเม สตฺยตา กถมฺ๚๑๔๕๚

วิทฺยมานสฺย ภาวสฺย เหตุนา กิํ ปฺรโยชนมฺฯ

อถาปฺยวิทฺยมาโน’เสา เหตุนา กิํ ปฺรโยชนมฺ๚๑๔๖๚

นาภาวสฺย วิกาโร’สฺติ เหตุโกฏิศไตรปิฯ

ตทวสฺถ กถํ ภาวะ โก วานฺโย ภาวตํา คตะ๚๑๔๗๚

นาภาวกาเล ภาวศฺเจตฺกทา ภาโว ภวิษฺยติฯ

นาชาเตน หิ ภาเวน โส’ภาโว’ปคมิษฺยติ๚๑๔๘๚

น จานปคเต’ภาเว ภาวาวสรสํภวะฯ

ภาวศฺจาภาวตํา ไนติ ทฺวิสฺวภาวปฺรสงฺคตะ๚๑๔๙๚

เอวํ น จ นิโรโธ’สฺติ น จ ภาโว’สฺติ สรฺวทาฯ

อชาตมนิรุทฺธํ จ ตสฺมาตฺสรฺวมิทํ ชคตฺ๚๑๕๐๚

สฺวปฺโนปมาสฺตุ คตโย วิจาเร กทลีสมาะฯ

นิรฺวฤตานิรฺวฤตานํา จ วิเศโษ นาสฺติ วสฺตุตะ๚๑๕๑๚

เอวํ ศูนฺเยษุ ธรฺเมษุ กิํ ลพฺธํ กิํ หฤตํ ภเวตฺฯ

สตฺกฤตะ ปริภูโต วา เกน กะ สํภวิษฺยติ๚๑๕๒๚

กุตะ สุขํ วา ทุะขํ วา กิํ ปฺริยํ วา กิมปฺริยมฺฯ

กา ตฤษฺณา กุตฺร สา ตฤษฺณา มฤคฺยมาณา สฺวภาวตะ๚๑๕๓๚

วิจาเร ชีวโลกะ กะ โก นามาตฺร มริษฺยติฯ

โก ภวิษฺยติ โก ภูตะ โก พนฺธุะ กสฺย กะ สุหฤตฺ๚๑๕๔๚

สรฺวมากาศสํกาศํ ปริคฤหฺณนฺตุ มทฺวิธาะฯ

ปฺรกุปฺยนฺติ ปฺรหฤษฺยนฺติ กลโหตฺสวเหตุภิะ๚๑๕๕๚

โศกายาไสรฺวิษาไทศฺจ มิถศฺเฉทนเภทไนะฯ

ยาปยนฺติ สุกฤจฺเฉฺรณ ปาไปราตฺมสุเขจฺฉวะ๚๑๕๖๚

มฤตาะ ปตนฺตฺยปาเยษุ ทีรฺฆตีวฺรวฺยเถษุ จฯ

อาคตฺยาคตฺย สุคติํ ภูตฺวา ภูตฺวา สุโขจิตาะ๚๑๕๗๚

ภเว พหุปฺรปาตศฺจ ตตฺร จาตตฺตฺวมีทฤศมฺฯ

ตตฺรานฺโยนฺยวิโรธศฺจ น ภเวตฺตตฺตฺวมีทฤศมฺ๚๑๕๘๚

ตตฺร จานุปมาสฺตีวฺรา อนนฺตา ทุะขสาคราะฯ

ตไตฺรวมลฺปพลตา ตตฺราปฺยลฺปตฺวมายุษะ๚๑๕๙๚

ตตฺราปิ ชีวิตาโรคฺยวฺยาปาเระ กฺษุตฺกฺลมศฺรไมะฯ

นิทฺรโยปทฺรไวรฺพาลสํสรฺไครฺนิษฺผไลสฺตถา๚๑๖๐๚

วฤไถวายุรฺวหตฺยาศุ วิเวกสฺตตฺร ทุรฺลภะฯ

ตตฺราปฺยภฺยสฺตวิเกฺษปนิวารณคติะ กุตะ๚๑๖๑๚

ตตฺราปิ มาโร ยตเต มหาปายปฺรปาตเนฯ

ตตฺราสนฺมารฺคพาหุลฺยาทฺวิจิกิตฺสา จ ทุรฺชยา๚๑๖๒๚

ปุนศฺจ กฺษณเทารฺลภฺยํ พุทฺโธตฺปาโท’ติทุรฺลภะฯ

เกฺลเศาโฆ ทุรฺนิวารศฺเจตฺยโห ทุะขปรํปรา๚๑๖๓๚

อโห พตาติโศจฺยตฺวเมษํา ทุะเขาฆวรฺตินามฺฯ

เย เนกฺษนฺเต สฺวเทาะสฺถิตฺยเมวมปฺยติทุะสฺถิตาะ๚๑๖๔๚

สฺนาตฺวา สฺนาตฺวา ยถา กศฺจิทฺวิเศทฺวหฺนิํ มุหุรฺมุหุะฯ

สฺวเสาสฺถิตฺยํ จ มนฺยนฺเต เอวมปฺยติทุะสฺถิตาะ๚๑๖๕๚

อชรามรลีลานาเมวํ วิหรตํา สตามฺฯ

อายาสฺยนฺตฺยาปโท โฆราะ กฤตฺวา มรณมคฺรตะ๚๑๖๖๚

เอวํ ทุะขาคฺนิตปฺตานํา ศานฺติํ กุรฺยามหํ กทาฯ

ปุณฺยเมฆสมุทฺภูไตะ สุโขปกรไณะ สฺวไกะ๚๑๖๗๚

กโทปลมฺภทฤษฺฏิภฺโย เทศยิษฺยามิ ศูนฺยตามฺฯ

สํวฤตฺยานุปลมฺเภน ปุณฺยสํภารมาทราตฺ๚๑๖๘๚

อิติ ปฺรชฺญาปารมิตาปริจฺเฉโท นวมะ๚

ปริวรรตเป็นไทยปรับรูป(สำหรับบุคคลทั่วไป)

๙ ปรัชญาปาระมิตา นามะ นะวะมะห์ ปะริจเฉทะห์๚

อิมัม ปะริกะรัม สรรวัม ปรัชญารถัม หิ มุนิรชะเคาฯ

ตัสมาทุตปาทะเยตปรัชญาม ทุห์ขะนิวฤตติกางกษะยา๚๑๚

สัมวฤติห์ ปะระมารถัศจะ สัตยัทวะยะมิทัม มะตัมฯ

พุทเธระโคจะรัสตัตตวัม พุทธิห์ สัมวฤติรุจยะเต๚๒๚

ตะตระ โลโก ทวิธา ทฤษโฏ โยคี ปรากฤตะกัสตะถาฯ

ตะตระ ปรากฤตะโก โลโก โยคิโลเกนะ พาธยะเต๚๓๚

พาธยันเต ธีวิเศเษณะ โยคิโนปยุตตะโรตตะไรห์ฯ

ทฤษฏานเตโนภะเยษเฏนะ การยารถะมะวิจาระตะห์๚๔๚

โลเกนะ ภาวา ทฤศยันเต กัลปยันเต จาปิ ตัตตวะตะห์ฯ

นะ ตุ มายาวะทิตยะตระ วิวาโท โยคิโลกะโยห์๚๕๚

ปรัตยักษะมะปิ รูปาทิ ประสิทธยา นะ ประมาณะตะห์ฯ

อะศุจยาทิษุ ศุจยาทิประสิทธิริวะ สา มฤษา๚๖๚

โลกาวะตาระณารถัม จะ ภาวา นาเถนะ เทศิตาห์ฯ

ตัตตวะตะห์ กษะณิกา ไนเต สัมวฤตยา เจทวิรุธยะเต๚๗๚

นะ โทโษ โยคิสัมวฤตยา โลกาตเต ตัตตวะทรรศินะห์ฯ

อันยะถา โลกะพาธา สยาทะศุจิสตรีนิรูปะเณ๚๘๚

มาโยปะมาชชินาตปุณยัม สัทภาเวปิ กะถัม ยะถาฯ

ยะทิ มาโยปะมะห์ สัตตวะห์ กิม ปุนรรชายะเต มฤตะห์๚๙๚

ยาวัตปรัตยะยะสามะครี ตาวันมายาปิ วรรตะเตฯ

ทีรฆะสันตานะมาเตรณะ กะถัม สัตตโวสติ สัตยะตะห์๚๑๐๚

มายาปุรุษะฆาตาเทา จิตตาภาวานนะ ปาปะกัมฯ

จิตตะมายาสะเมเต ตุ ปาปะปุณยะสะมุทภะวะห์๚๑๑๚

มันตราทีนามะสามรรถยานนะ มายาจิตตะสัมภะวะห์ฯ

สาปิ นานาวิธา มายา นานาปรัตยะยะสัมภะวาฯ

ไนกัสยะ สรรวะสามรรถยัม ปรัตยะยัสยาสติ กุตระจิต๚๑๒๚

นิรวฤตะห์ ปะระมารเถนะ สัมวฤตยา ยะทิ สัมสะเรตฯ

พุทโธปิ สัมสะเรเทวัม ตะตะห์ กิม โพธิจรรยะยา๚๑๓๚

ปรัตยะยานามะนุจเฉเท มายาปยุจฉิทยะเต นะ หิฯ

ปรัตยะยานาม ตุ วิจเฉทาตสัมวฤตยาปิ นะ สัมภะวะห์๚๑๔๚

ยะทา นะ ภรานติรัปยัสติ มายา เกโนปะลัภยะเต๚๑๕๚

ยะทา มาไยวะ เต นาสติ ตะทา กิมุปะลัภยะเตฯ

จิตตัสไยวะ สะ อากาโร ยัทยัปยันโยสติ ตัตตวะตะห์๚๑๖๚

จิตตะเมวะ ยะทา มายา ตะทา กิม เกนะ ทฤศยะเตฯ

อุกตัม จะ โลกะนาเถนะ จิตตัม จิตตัม นะ ปัศยะติฯ

นะ จฉินัตติ ยะถาตมานะมะสิธารา ตะถา มะนะห์๚๑๗๚

อาตมะภาวัม ยะถา ทีปะห์ สัมประกาศะยะตีติ เจตฯ

ไนวะ ประกาศยะเต ทีโป ยัสมานนะ ตะมะสาวฤตะห์๚๑๘๚

นะ หิ สผะฏิกะวันนีลัม นีลัตเวนยะมะเปกษะเตฯ

ตะถา กิญจิตปะราเปกษะมะนะเปกษัม จะ ทฤศยะเต๚๑๙๚

อะนีลัตเว นะ ตันนีลัม นีละเหตุรยะเถกษยะเตฯ

นีละเมวะ หิ โก นีลัม กุรยาทาตมานะมาตมะนา๚๒๐๚

นีละเมวะ หิ โก นีลัม กุรยาทาตมานะมาตมะนาฯ

อะนีลัตเว นะ ตันนีลัม กุรยาทาตมะนะมาตมะนา๚๒๑๚

ทีปะห์ ประกาศะตะ อิติ ชญาตวา ชญาเนนะ กัถยะเตฯ

พุทธิห์ ประกาศะตะ อิติ ชญาตเวทัม เกนะ กัถยะเต๚๒๒๚

ประกาศา วาประกาศา วา ยะทา ทฤษฏา นะ เกนะจิตฯ

วันธยาทุหิตฤลีเลวะ กัถยะมานาปิ สา มุธา๚๒๓๚

ยะทิ นาสติ สวะสัมวิตติรวิชญานัม สมรรยะเต กะถัมฯ

อันยานุภูเต สัมพันธาต สมฤติราขุวิษัม ยะถา๚๒๔๚

ปรัตยะยานตะระยุกตัสยะ ทรรศะนาตสวัม ประกาศะเตฯ

สิทธาญชะนะวิเธรทฤษโฏ ฆะโฏ ไนวาญชะนัม ภะเวต๚๒๕๚

ยะถา ทฤษฏัม ศรุตัม ชญาตัม ไนเวหะ ประติษิธยะเตฯ

สัตยะตะห์ กัลปะนา ตวะตระ ทุห์ขะเหตุรนิวารยะเต๚๒๖๚

จิตตาทันยา นะ มายา เจนนาปยะนันเยติ กัลปยะเตฯ

วัสตุ เจตสา กะถัม นานยานันยา เจนนาสติ วัสตุตะห์๚๒๗๚

อะสัตยะปิ ยะถา มายา ทฤศยา ทรัษฏฤ ตะถา มะนะห์ฯ

วัสตวาศระยัศเจตสัมสาระห์ โสนยะถากาศะวัทภะเวต๚๒๘๚

วัสตวาศระเยณาภาวัสยะ กริยาวัตตวัม กะถัม ภะเวตฯ

อะสัตสะหายะเมกัม หิ จิตตะมาปัทยะเต ตะวะ๚๒๙๚

คราหยะมุกตัม ยะทา จิตตัม ตะทา สรรเว ตะถาคะตาห์ฯ

เอวัม จะ โก คุโณ ลัพธัศจิตตะมาเตรปิ กัลปิเต๚๓๐๚

มาโยปะมัตเวปิ ชญาเต กะถัม เกลโศ นิวรรตะเตฯ

ยะทา มายาสตริยาม ราคัสตัตกรรตุระปิ ชายะเต๚๓๑๚

อะประหีณา หิ ตัตกรรตุรชเญยะสังเกลศะวาสะนาฯ

ตัททฤษฏิกาเล ตัสยาโต ทุรพะลา ศูนยะวาสะนา๚๓๒๚

ศูนยะตาวาสะนาธานาทธียะเต ภาวะวาสะนาฯ

กิญจินนาสตีติ จาภยาสาตสาปิ ปัศจาตประหียะเต๚๓๓๚

ยะทา นะ ลัภยะเต ภาโว โย นาสตีติ ประกัลปยะเตฯ

ตะทา นิราศระโยภาวะห์ กะถัม ติษเฐนมะเตห์ ปุระห์๚๓๔๚

ยะทา นะ ภาโว นาภาโว มะเตห์ สันติษฐะเต ปุระห์ฯ

ตะทานยะคัตยะภาเวนะ นิราลัมพา ประศามยะติ๚๓๕๚

จินตามะณิห์ กัลปะตะรุรยะเถจฉาปะริปูระณะห์ฯ

วิเนยะประณิธานาภยาม ชินะพิมพัม ตะเถกษยะเต๚๓๖๚

ยะถา คารุฑิกะห์ สตัมภัม สาธะยิตวา วินัศยะติฯ

สะ ตัสมิมศจิระนัษเฏปิ วิษาทีนุปะศามะเยต๚๓๗๚

โพธิจรรยานุรูปเยณะ ชินัสตัมโภปิ สาธิตะห์ฯ

กะโรติ สรรวะการยาณิ โพธิสัตตเวปิ นิรวฤเต๚๓๘๚

อะจิตตะเก กฤตา ปูชา กะถัม ผะละวะตี ภะเวตฯ

ตุลไยวะ ปัฐยะเต ยัสมาตติษฐะโต นิรวฤตัสยะ จะ๚๓๙๚

อาคะมาจจะ ผะลัม ตะตระ สัมวฤตยา ตัตตวะโตปิ วาฯ

สัตยะพุทเธ กฤตา ปูชา สะผะเลติ กะถัม ยะถา๚๔๐๚

สัตยะทรรศะนะโต มุกติห์ ศูนยะตาทรรศะเนนะ กิมฯ

นะ วินาเนนะ มารเคณะ โพธิริตยาคะโม ยะตะห์๚๔๑๚

นันวะสิทธัม มะหายานัม กะถัม สิทธัสตวะทาคะมะห์ฯ

ยัสมาทุภะยะสิทโธเสา นะ สิทโธเสา ตะวาทิตะห์๚๔๒๚

ยัตปรัตยะยา จะ ตัตราสถา มะหายาเนปิ ตาม กุรุฯ

อันโยภะเยษฏะสัตยัตเว เวทาเทระปิ สัตยะตา๚๔๓๚

สะวิวาทัม มะหายานะมิติ เจทาคะมัม ตยะชะฯ

ตีรถิไกห์ สะวิวาทัตวาตสไวห์ ปะไรศจาคะมานตะรัม๚๔๔๚

ศาสะนัม ภิกษุตามูลัม ภิกษุไตวะ จะ ทุห์สถิตาฯ

สาวะลัมพะนะจิตตานาม นิรวาณะมะปิ ทุห์สถิตัม๚๔๕๚

เกลศะประหาณานมุกติศเจตตะทะนันตะระมัสตุ สาฯ

ทฤษฏัม จะ เตษุ สามรรถยัม นิษเกลศัสยาปิ กรรมะณะห์๚๔๖๚

ตฤษณา ตาวะทุปาทานัม นาสติ เจตสัมประธารยะเตฯ

กิมักลิษฏาปิ ตฤษไณษาม นาสติ สัมโมหะวัต สะตี๚๔๗๚

เวทะนาปรัตยะยา ตฤษณา เวทะไนษาม จะ วิทยะเตฯ

สาลัมพะเนนะ จิตเตนะ สถาตะวยัม ยะตระ ตะตระ วา๚๔๘๚

วินา ศูนยะตะยา จิตตัม พัทธะมุตปัทยะเต ปุนะห์ฯ

ยะถาสัญชญิสะมาปัตเตา ภาวะเยตเตนะ ศูนยะตาม๚๔๙๚

สักติตราสาตตวะนิรมุกตยา สัมสาเร สิธยะติ สถิติห์ฯ

โมเหนะ ทุห์ขินามรรเถ ศูนยะตายา อิทัม ผะลัม๚๕๓๚

ตะเทวัม ศูนยะตาปักเษ ทูษะณัม โนปะปัทยะเตฯ

ตัสมานนิรวิจิกิตเสนะ ภาวะนีไยวะ ศูนยะตา๚๕๔๚

เกลศัชเญยาวฤติตะมะห์ประติปักโษ หิ ศูนยะตาฯ

ศีฆรัม สรรวัชญะตากาโม นะ ภาวะยะติ ตาม กะถัม๚๕๕๚

ยัททุห์ขะชะนะนัม วัสตุ ตราสัสตัสมาตประชายะตามฯ

ศูนยะตา ทุห์ขะศะมะนี ตะตะห์ กิม ชายะเต ภะยัม๚๕๖๚

ยะตัสตะโต วาสตุ ภะยัม ยัทยะหัม นามะ กิญจะนะฯ

อะหะเมวะ จะ กิญจิจเจทภะยัม กัสยะ ภะวิษยะติ๚๕๗๚

ทันตะเกศะนะขา นาหัม นาสถิ นาปยัสมิ โศณิตัมฯ

นะ สิงฆาณัม นะ จะ เศลษมา นะ ปูยัม ละสิกาปิ วา๚๕๘๚

นาหัม วะสา นะ จะ สเวโท นะ เมโทสตราณิ นาปยะหัมฯ

นะ จาหะมันตระนิรคุณฑี คูถะมูตระมะหัม นะ จะ๚๕๙๚

นาหัม มามสัม นะ จะ สนายุ โนษมา วายุระหัม นะ จะฯ

นะ จะ จฉิทราณยะหัม นาปิ ษัฑ วิชญานานิ สรรวะถา๚๖๐๚

ศัพทัชญานัม ยะทิ ตะทา ศัพโท คฤหเยตะ สรรวะทาฯ

ชเญยัม วินา ตุ กิม เวตติ เยนะ ชญานัม นิรุจยะเต๚๖๑๚

อะชานานัม ยะทิ ชญานัม กาษฐัม ชญานัม ประสัชยะเตฯ

เตนาสันนิหิตัชเญยัม ชญานัม นาสตีติ นิศจะยะห์๚๖๒๚

ตะเทวะ รูปัม ชานาติ ตะทา กิม นะ ศฤโณตยะปิฯ

ศัพทัสยาสันนิธานาจเจตตะตัสตัชชญานะมัปยะสัต๚๖๓๚

ศัพทะคระหะณะรูปัม ยัตตะทรูปะคระหะณัม กะถัมฯ

เอกะห์ ปิตา จะ ปุตรัศจะ กัลปยะเต นะ ตุ ตัตตวะตะห์๚๖๔๚

สัตตวัม ระชัสตะโม วาปิ นะ ปุโตร นะ ปิตา ยะตะห์ฯ

ศัพทะคระหะณะยุกตัสตุ สวะภาวัสตัสยะ เนกษยะเต๚๖๕๚

ตะเทวานเยนะ รูเปณะ นะฏะวัตโสปยะศาศวะตะห์ฯ

สะ เอวานยัสวะภาวัศเจทะปูรเวยัม ตะเทกะตา๚๖๖๚

อันยะทรูปะมะสัตยัม เจนนิชัม ตะทรูปะมุจยะตามฯ

ชญานะตา เจตตะตะห์ สรรวะปุมสาไมกยัม ประสัชยะเต๚๖๗๚

เจตะนาเจตะเน ไจกยัม ตะโยรเยนาสติตา สะมาฯ

วิเศษัศจะ ยะทา มิถยา กะห์ สาทฤศยาศระยัสตะทา๚๖๘๚

อะเจตะนัศจะ ไนวาหะมาไจตันยาตปะฏาทิวัตฯ

อะถะ ชญัศเจตะนาโยคาทัชโญ นัษฏะห์ ประสัชยะเต๚๖๙๚

อะถาวิกฤตะ เอวาตมา ไจตันเยนาสยะ กิม กฤตัมฯ

อัชญัสยะ นิษกริยัสไยวะมากาศัสยาตมะตา มะตา๚๗๐๚

นะ กรรมะผะละสัมพันโธ ยุกตัศเจทาตมะนา วินาฯ

กรรมะ กฤตวา วินัษเฏ หิ ผะลัม กัสยะ ภะวิษยะติ๚๗๑๚

ทวะโยรัปยาวะโยห์ สิทเธ ภินนาธาเร กริยาผะเลฯ

นิรวยาปารัศจะ ตัตราตเมตยะตระ วาโท วฤถา นะนุ๚๗๒๚

เหตุมาน ผะละโยคีติ ทฤศยะเต ไนษะ สัมภะวะห์ฯ

สันตานัสไยกยะมาศริตยะ กรรตา โภกเตติ เทศิตัม๚๗๓๚

อะตีตานาคะตัม จิตตัม นาหัม ตัทธิ นะ วิทยะเตฯ

อะโถตปันนะมะหัม จิตตัม นัษเฏสมินนาสตยะหัม ปุนะห์๚๗๔๚

ยะไถวะ กะทะลีสตัมโภ นะ กัศจิทภาคะศะห์ กฤตะห์ฯ

ตะถาหะมัปยะสัทภูโต มฤคยะมาโณ วิจาระตะห์๚๗๕๚

ยะทิ สัตตโว นะ วิทเยตะ กัสโยปะริ กฤเปติ เจตฯ

การยารถะมัภยุเปเตนะ โย โมเหนะ ประกัลปิตะห์๚๗๖๚

การยัม กัสยะ นะ เจตสัตตวะห์ สัตยะมีหา ตุ โมหะตะห์ฯ

ทุห์ขะวยุปะศะมารถัม ตุ การยะโมโห นะ วารยะเต๚๗๗๚

ทุห์ขะเหตุระหังการะ อาตมะโมหาตตุ วรรธะเตฯ

ตะโตปิ นะ นิวรรตยัศเจต วะรัม ไนราตมยะภาวะนา๚๗๘๚

กาโย นะ ปาเทา นะ ชังฆา โนรู กายะห์ กะฏิรนะ จะฯ

โนทะรัม นาปยะยัม ปฤษฐัม โนโร พาหู นะ จาปิ สะห์๚๗๙๚

นะ หัสเตา นาปยะยัม ปารศเวา นะ กักเษา นามสะลักษะณะห์ฯ

นะ ครีวา นะ ศิระห์ กายะห์ กาโยตระ กะตะระห์ ปุนะห์๚๘๐๚

ยะทิ สรรเวษุ กาโยยะเมกะเทเศนะ วรรตะเตฯ

อัมศา อัมเศษุ วรรตันเต สะ จะ กุตระ สวะยัม สถิตะห์๚๘๑๚

สรรวาตมะนา เจตสรรวะตระ สถิตะห์ กายะห์ กะราทิษุฯ

กายาสตาวันตะ เอวะ สยุรยาวันตัสเต กะราทะยะห์๚๘๒๚

ไนวานตรรนะ พะหิห์ กายะห์ กะถัม กายะห์ กะราทิษุฯ

กะราทิภยะห์ ปฤถัง นาสติ กะถัม นุ ขะลุ วิทยะเต๚๘๓๚

ตันนาสติ กาโย โมหาตตุ กายะพุทธิห์ กะราทิษุฯ

สันนิเวศะวิเศเษณะ สถาเณา ปุรุษะพุทธิวัต๚๘๔๚

ยาวัตปรัตยะยะสามะครี ตาวัตกายะห์ ปุมานิวะฯ

เอวัม กะราเทา สา ยาวัตตาวัตกาโยตระ ทฤศยะเต๚๘๕๚

เอวะมังคุลิปุญชัตวาตปาโทปิ กะตะโร ภะเวตฯ

โสปิ ปรรวะสะมูหัตวาต ปรรวาปิ สวามศะเภทะตะห์๚๘๖๚

อัมศา อัปยะณุเภเทนะ โสปยะณุรทิควิภาคะตะห์ฯ

ทิควิภาโค นิรัมศัตวาทากาศัม เตนะ นาสตยะณุห์๚๘๗๚

เอวัม สวัปโนปะเม รูเป โก รัชเยตะ วิจาระกะห์ฯ

กายัศไจวัม ยะทา นาสติ ตะทา กา สตรี ปุมามศจะ กะห์๚๘๘๚

ยัทยัสติ ทุห์ขัม ตัตตเวนะ ประหฤษฏาน กิม นะ พาธะเตฯ

โศกาทยารตายะ มฤษฏาทิ สุขัม เจตกิม นะ โรจะเต๚๘๙๚

พะลียะสาภิภูตัตวาทยะทิ ตันนานุภูยะเตฯ

เวทะนาตวัม กะถัม ตัสยะ ยัสยะ นานุภะวาตมะตา๚๙๐๚

อัสติ สูกษมะตะยา ทุห์ขัม สเถาลยัม ตัสยะ หฤตัม นะนุฯ

ตุษฏิมาตราปะรา เจตสยาตตัสมาต สาปยัสยะ สูกษมะตา๚๙๑๚

วิรุทธัปรัตยะโยตปัตเตา ทุห์ขัสยานุทะโย ยะทิฯ

กัลปะนาภินิเวโศ หิ เวทะเนตยาคะตัม นะนุ๚๙๒๚

อะตะ เอวะ วิจาโรยัม ประติปักโษสยะ ภาวยะเตฯ

วิกัลปักเษตระสัมภูตัธยานาหารา หิ โยคินะห์๚๙๓๚

สานตะราวินทริยารเถา เจตสัมสรรคะห์ กุตะ เอตะโยห์ฯ

นิรันตะรัตเวปเยกัตวัม กัสยะ เกนาสตุ สังคะติห์๚๙๔๚

นาโณระเณา ประเวโศสติ นิรากาศะห์ สะมัศจะ สะห์ฯ

อะประเวเศ นะ มิศรัตวะมะมิศรัตเว นะ สังคะติห์๚๙๕๚

นิรัมศัสยะ จะ สัมสรรคะห์ กะถัม นาโมปะปัทยะเตฯ

สัมสรรเค จะ นิรัมศัตวัม ยะทิ ทฤษฏัม นิทรรศะยะ๚๙๖๚

วิชญานัสยะ ตวะมูรตัสยะ สัมสรรโค ไนวะ ยุชยะเตฯ

สะมูหัสยาปยะวัสตุตวาทยะถา ปูรวัม วิจาริตัม๚๙๗๚

ตะเทวัม สปรรศะนาภาเว เวทะนาสัมภะวะห์ กุตะห์ฯ

กิมรรถะมะยะมายาสะห์ พาธา กัสยะ กุโต ภะเวต๚๙๘๚

ยะทา นะ เวทะกะห์ กัศจิทเวทะนา จะ นะ วิทยะเตฯ

ตะทาวัสถามิมาม ทฤษฏวา ตฤษเณ กิม นะ วิทีรยะเส๚๙๙๚

ทฤศยะเต สปฤศยะเต จาปิ สวัปนะมาโยปะมาตมะนาฯ

จิตเตนะ สะหะชาตัตวาทเวทะนา เตนะ เนกษยะเต๚๑๐๐๚

ปูรวัม ปัศจาจจะ ชาเตนะ สมรรยะเต นานุภูยะเตฯ

สวาตมานัม นานุภะวะติ นะ จานเยนานุภูยะเต๚๑๐๑๚

นะ จาสติ เวทะกะห์ กัศจิทเวทะนาโต นะ ตัตตวะตะห์ฯ

นิราตมะเก กะลาเปสมิน กะ เอวัม พาธยะเตนะยา๚๑๐๒๚

เนนทริเยษุ นะ รูปาเทา นานตะราเล มะนะห์ สถิตัมฯ

นาปยันตรรนะ พะหิศจิตตะมันยะตราปิ นะ ลัภยะเต๚๑๐๓๚

ยันนะ กาเย นะ จานยะตระ นะ มิศรัม นะ ปฤถัก กวะจิตฯ

ตันนะ กิญจิทะตะห์ สัตตวาห์ ประกฤตยา ปะรินิรวฤตาห์๚๑๐๔๚

ชเญยาตปูรวัม ยะทิ ชญานัม กิมาลัมพยาสยะ สัมภะวะห์ฯ

ชเญเยนะ สะหะ เจชชญานัม กิมาลัมพยาสยะ สัมภะวะห์๚๑๐๕๚

อะถะ ชเญยาทภะเวต ปัศจาต ตะทา ชญานัม กุโต ภะเวตฯ

เอวัม จะ สรรวะธรรมาณามุตปัตติรนาวะสียะเต๚๑๐๖๚

ยัทเยวัม สัมวฤติรนาสติ ตะตะห์ สัตยัทวะยัม กุตะห์ฯ

อะถะ สาปยันยะสัมวฤตยา สยาตสัตตโว นิรวฤตะห์ กุตะห์๚๑๐๗๚

ปะระจิตตะวิกัลโปเสา สวะสัมวฤตยา ตุ นาสติ สะห์ฯ

สะ ปัศจานนิยะตะห์ โสสติ นะ เจนนาสตเยวะ สัมวฤติห์๚๑๐๘๚

กัลปะนา กัลปิตัม เจติ ทวะยะมันโยนยะนิศริตัมฯ

ยะถาประสิทธะมาศริตยะ วิจาระห์ สรรวะ อุจยะเต๚๑๐๙๚

วิจาริเตนะ ตุ ยะทา วิจาเรณะ วิจารยะเตฯ

ตะทานะวัสถา ตัสยาปิ วิจารัสยะ วิจาระณาต๚๑๑๐๚

วิจาริเต วิจารเย ตุ วิจารัสยาสติ นาศระยะห์ฯ

นิราศริตัตวานโนเทติ ตัจจะ นิรวาณะมุจยะเต๚๑๑๑๚

ยัสยะ ตเวตัททูยัม สัตยัม สะ เอวาตยันตะทุห์สถิตะห์ฯ

ยะทิ ชเญยะวะศาทรรโถ ชญานาสติตเว ตุ กา คะติห์๚๑๑๒๚

อะถะ ชเญยะวะศาชชญานัม ชเญยาสติตเว ตุ กา คะติห์ฯ

อะถานโยนยะวะศาตสัตตวะมะภาวะห์ สยาททูโยระปิ๚๑๑๓๚

ปิตา เจนนะ วินา ปุตราตกุตะห์ ปุตรัสยะ สัมภะวะห์ฯ

ปุตราภาเว ปิตา นาสติ ตะถาสัตตวัม ตะโยรทวะโยห์๚๑๑๔๚

อังกุโร ชายะเต พีชาทพีชัม เตไนวะ สูจยะเตฯ

ชเญยาชชญาเนนะ ชาเตนะ ตัตสัตตา กิม นะ คัมยะเต๚๑๑๕๚

อังกุราทันยะโต ชญานาทพีชะมัสตีติ คัมยะเตฯ

ชญานาสติตวัม กุโต ชญาตัม ชเญยัม ยัตเตนะ คัมยะเต๚๑๑๖๚

โลกะห์ ปรัตยักษะตัสตาวัตสรรวัม เหตุมุทีกษะเตฯ

ปัทมะนาลาทิเภโท หิ เหตุเภเทนะ ชายะเต๚๑๑๗๚

กิงกฤโต เหตุเภทัศเจต ปูรวะเหตุประเภทะตะห์ฯ

กัสมาจเจตผะละโท เหตุห์ ปูรวะเหตุประภาวะตะห์๚๑๑๘๚

อีศวะโร ชะคะโต เหตุห์ วะทะ กัสตาวะทีศวะระห์ฯ

ภูตานิ เจทภะวัตเววัม นามะมาเตรปิ กิม ศระมะห์๚๑๑๙๚

อะปิ ตวะเนเกนิตยาศจะ นิศเจษฏา นะ จะ เทวะตาห์ฯ

ลังฆยาศจาศุจะยัศไจวะ กษมาทะโย นะ สะ อีศวะระห์๚๑๒๐๚

นากาศะมีโศเจษฏัตวาต นาตมา ปูรวะนิเษธะตะห์ฯ

อะจินตยัสยะ จะ กรรตฤตวะมัปยะจินตยัม กิมุจยะเต๚๑๒๑๚

เตนะ กิม สรัษฏุมิษฏัม จะ อาตมา เจต นันวะเสา ธรุวะห์ฯ

กษมาทิสวะภาวะ อีศัศจะ ชญานัม ชเญยาทะนาทิ จะ๚๑๒๒๚

กรรมะณะห์ สุขะทุห์เข จะ วะทะ กิม เตนะ นิรมิตัมฯ

เหโตราทิรนะ เจทัสติ ผะลัสยาทิห์ กุโต ภะเวต๚๑๒๓๚

กัสมาตสะทา นะ กุรุเต นะ หิ โสนยะมะเปกษะเตฯ

เตนากฤโตนโย นาสตเยวะ เตนาเสา กิมะเปกษะตาม๚๑๒๔๚

อะเปกษะเต เจตสามะครีม เหตุรนะ ปุนะรีศวะระห์ฯ

นากรรตุมีศะห์ สามัครยาม [นะ กรรตุม ตะทะภาวะตะห์]๚๑๒๕๚

กะโรตยะนิจฉันนีศัศเจตปะรายัตตะห์ ประสัชยะเตฯ

อิจฉันนะปีจฉายัตตะห์ สยาต กุรวะตะห์ กุตะ อีศะตา๚๑๒๖๚

เยปิ นิตยานะณูนาหุสเตปิ ปูรวัม นิวาริตาห์ฯ

สางขยาห์ ประธานะมิจฉันติ นิตยัม โลกัสยะ การะณัม๚๑๒๗๚

สัตตวัม ระชัสตะมัศเจติ คุณา อะวิษะมัสถิตาห์ฯ

ประธานะมิติ กัถยันเต วิษะไมรชะคะทุจยะเต๚๑๒๘๚

เอกัสยะ ตริสวะภาวัตวะมะยุกตัม เตนะ นาสติ ตัตฯ

เอวัม คุณา นะ วิทยันเต ปรัตเยกัม เตปิ หิ ตริธา๚๑๒๙๚

คุณาภาเว จะ ศัพทาเทรัสติตวะมะติทูระตะห์ฯ

อะเจตะเน จะ วัสตราเทา สุขาเทรัปยะสัมภะวะห์๚๑๓๐๚

ตัทเธตุรูปา ภาวาศเจนนะนุ ภาวา วิจาริตาห์ฯ

สุขาทเยวะ จะ เต เหตุห์ นะ จะ ตัสมาตปะฏาทะยะห์๚๑๓๑๚

ปะฏาเทสตุ สุขาทิ สยาตตะทะภาวาตสุขาทยะสัตฯ

สุขาทีนาม จะ นิตยัตวัม กะทาจินโนปะลัภยะเต๚๑๓๒๚

สัตยาเมวะ สุขะวยักเตา สัมวิตติห์ กิม นะ คฤหยะเตฯ

ตะเทวะ สูกษมะตาม ยาติ สถูลัม สูกษมัม จะ ตัตกะถัม๚๑๓๓๚

สเถาลยัม ตยักตวา ภะเวตสูกษมะมะนิตเย สเถาลยะสูกษมะเตฯ

สรรวัสยะ วัสตุนัสตัทวัตกิม นานิตยัตวะมิษยะเต๚๑๓๔๚

นะ สเถาลยัม เจตสุขาทันยัต สุขัสยานิตยะตา สผุฏัมฯ

นาสะทุตปัทยะเต กิญจิทะสัตตวาทิติ เจนมะตัมฯ

วยักตัสยาสะตะ อุตปัตติระกามัสยาปิ เต สถิตา๚๑๓๕๚

อันนาโทเมธยะภักษะห์ สยาต ผะลัม เหเตา ยะทิ สถิตัมฯ

ปะฏารเฆไณวะ กรรปาสะพีชัม กรีตวา นิวัสยะตาม๚๑๓๖๚

โมหาจเจนเนกษะเต โลกะห์ ตัตตวัชญัสยาปิ สา สถิติห์๚๑๓๗๚

โลกัสยาปิ จะ ตัชชญานะมัสติ กัสมานนะ ปัศยะติฯ

โลกาประมาณะตายาม เจต วยักตะทรรศะนะมัปยะสัต๚๑๓๘๚

ประมาณะมะประมาณัม เจนนะนุ ตัตประมิตัม มฤษาฯ

ตัตตวะตะห์ ศูนยะตา ตัสมาทภาวานาม โนปะปัทยะเต๚๑๓๙๚

กัลปิตัม ภาวะมัสปฤษฏวา ตะทะภาโว นะ คฤหยะเตฯ

ตัสมาทภาโว มฤษา โย หิ ตัสยาภาวะห์ สผุฏัม มฤษา๚๑๔๐๚

ตัสมาตสวัปเน สุเต นัษเฏ สะ นาสตีติ วิกัลปะนาฯ

ตัทภาวะกัลปะโนตปาทัม วิพัธนาติ มฤษา จะ สา๚๑๔๑๚

ตัสมาเทวัม วิจาเรณะ นาสติ กิญจิทะเหตุตะห์ฯ

นะ จะ วยัสตะสะมัสเตษุ ปรัตยะเยษุ วยะวัสถิตัม๚๑๔๒๚

อันยะโต นาปิ จายาตัม นะ ติษฐะติ นะ คัจฉะติฯ

มายาตะห์ โก วิเศโษสยะ ยันมูไฒห์ สัตยะตะห์ กฤตัม๚๑๔๓๚

มายะยา นิรมิตัม ยัจจะ เหตุภิรยัจจะ นิรมิตัมฯ

อายาติ ตัตกุตะห์ กุตระ ยาติ เจติ นิรูปยะตาม๚๑๔๔๚

ยะทันยะสันนิธาเนนะ ทฤษฏัม นะ ตะทะภาวะตะห์ฯ

ประติพิมพะสะเม ตัสมิน กฤตริเม สัตยะตา กะถัม๚๑๔๕๚

วิทยะมานัสยะ ภาวัสยะ เหตุนา กิม ประโยชะนัมฯ

อะถาปยะวิทยะมาโนเสา เหตุนา กิม ประโยชะนัม๚๑๔๖๚

นาภาวัสยะ วิกาโรสติ เหตุโกฏิศะไตระปิฯ

ตะทะวัสถะ กะถัม ภาวะห์ โก วานโย ภาวะตาม คะตะห์๚๑๔๗๚

นาภาวะกาเล ภาวัศเจตกะทา ภาโว ภะวิษยะติฯ

นาชาเตนะ หิ ภาเวนะ โสภาโวปะคะมิษยะติ๚๑๔๘๚

นะ จานะปะคะเตภาเว ภาวาวะสะระสัมภะวะห์ฯ

ภาวัศจาภาวะตาม ไนติ ทวิสวะภาวะประสังคะตะห์๚๑๔๙๚

เอวัม นะ จะ นิโรโธสติ นะ จะ ภาโวสติ สรรวะทาฯ

อะชาตะมะนิรุทธัม จะ ตัสมาตสรรวะมิทัม ชะคัต๚๑๕๐๚

สวัปโนปะมาสตุ คะตะโย วิจาเร กะทะลีสะมาห์ฯ

นิรวฤตานิรวฤตานาม จะ วิเศโษ นาสติ วัสตุตะห์๚๑๕๑๚

เอวัม ศูนเยษุ ธรรเมษุ กิม ลัพธัม กิม หฤตัม ภะเวตฯ

สัตกฤตะห์ ปะริภูโต วา เกนะ กะห์ สัมภะวิษยะติ๚๑๕๒๚

กุตะห์ สุขัม วา ทุห์ขัม วา กิม ปริยัม วา กิมะปริยัมฯ

กา ตฤษณา กุตระ สา ตฤษณา มฤคยะมาณา สวะภาวะตะห์๚๑๕๓๚

วิจาเร ชีวะโลกะห์ กะห์ โก นามาตระ มะริษยะติฯ

โก ภะวิษยะติ โก ภูตะห์ โก พันธุห์ กัสยะ กะห์ สุหฤต๚๑๕๔๚

สรรวะมากาศะสังกาศัม ปะริคฤหณันตุ มัทวิธาห์ฯ

ประกุปยันติ ประหฤษยันติ กะละโหตสะวะเหตุภิห์๚๑๕๕๚

โศกายาไสรวิษาไทศจะ มิถัศเฉทะนะเภทะไนห์ฯ

ยาปะยันติ สุกฤจเฉรณะ ปาไปราตมะสุเขจฉะวะห์๚๑๕๖๚

มฤตาห์ ปะตันตยะปาเยษุ ทีรฆะตีวระวยะเถษุ จะฯ

อาคัตยาคัตยะ สุคะติม ภูตวา ภูตวา สุโขจิตาห์๚๑๕๗๚

ภะเว พะหุประปาตัศจะ ตะตระ จาตัตตวะมีทฤศัมฯ

ตัตรานโยนยะวิโรธัศจะ นะ ภะเวตตัตตวะมีทฤศัม๚๑๕๘๚

ตะตระ จานุปะมาสตีวรา อะนันตา ทุห์ขะสาคะราห์ฯ

ตะไตรวะมัลปะพะละตา ตัตราปยัลปัตวะมายุษะห์๚๑๕๙๚

ตะตราปิ ชีวิตาโรคยะวยาปาเรห์ กษุตกละมะศระไมห์ฯ

นิทระโยปะทระไวรพาละสัมสรรไครนิษผะไลสตะถา๚๑๖๐๚

วฤไถวายุรวะหัตยาศุ วิเวกัสตะตระ ทุรละภะห์ฯ

ตัตราปยัภยัสตะวิกเษปะนิวาระณะคะติห์ กุตะห์๚๑๖๑๚

ตะตราปิ มาโร ยะตะเต มะหาปายะประปาตะเนฯ

ตะตราสันมารคะพาหุลยาทวิจิกิตสา จะ ทุรชะยา๚๑๖๒๚

ปุนัศจะ กษะณะเทารลัภยัม พุทโธตปาโทติทุรละภะห์ฯ

เกลเศาโฆ ทุรนิวารัศเจตยะโห ทุห์ขะปะรัมปะรา๚๑๖๓๚

อะโห พะตาติโศจยัตวะเมษาม ทุห์เขาฆะวรรตินามฯ

เย เนกษันเต สวะเทาห์สถิตยะเมวะมัปยะติทุห์สถิตาห์๚๑๖๔๚

สนาตวา สนาตวา ยะถา กัศจิทวิเศทวหนิม มุหุรมุหุห์ฯ

สวะเสาสถิตยัม จะ มันยันเต เอวะมัปยะติทุห์สถิตาห์๚๑๖๕๚

อะชะรามะระลีลานาเมวัม วิหะระตาม สะตามฯ

อายาสยันตยาปะโท โฆราห์ กฤตวา มะระณะมะคระตะห์๚๑๖๖๚

เอวัม ทุห์ขาคนิตัปตานาม ศานติม กุรยามะหัม กะทาฯ

ปุณยะเมฆะสะมุทภูไตห์ สุโขปะกะระไณห์ สวะไกห์๚๑๖๗๚

กะโทปะลัมภะทฤษฏิภโย เทศะยิษยามิ ศูนยะตามฯ

สัมวฤตยานุปะลัมเภนะ ปุณยะสัมภาระมาทะราต๚๑๖๘๚

อิติ ปรัชญาปาระมิตาปะริจเฉโท นะวะมะห์๚

บทแปล โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ ปริเฉทที่ ๙ ปรัชญาบารมี(ปัญญา)

 

  1. ก็แล พระมุนีได้ตรัสแล้วซึ่งคุณธรรมอันมากมายทั้งหมดนี้ก็เพื่อประโยชน์แห่งปัญญาเพราะฉะนั้น ด้วยความปรารถนาแห่งการดับสิ้นไปแห่งทุกข์บุคคลพึงทำปัญญาให้เกิดขึ้นเถิด
  2. ความรู้นี้จัดเป็นความจริง2 ประเภทคือ สมมติสัจจะ (1) และปรมัตถสัจจะ (2) ความจริงแท้เป็นสิ่งที่อยู่เหนือความรู้ระดับสมมุติดังนั้น ความรู้ระดับสมมติจึงถูกเรียกว่าสมมติสัจจะ

(1) คำว่าสํวฤติหมายถึง สมมติสัจจะ คือ ความจริงอย่างโลก, ปิดบัง , ซ่อนเร้น , ไม่กระจ่างแจ้ง .

(2) คำว่า ปรมารฺถ หมายถึง ปรมัตถสัจจะ คือ ประโยชน์อย่างยิ่ง , ความจริงสูงสุด ,จุดมุ่งหมายอันยอดเยี่ยม, ความหมายขึ้นสูงสุด , ความหมายที่แท้จริง .

 

  1. เพราะฉะนั้น โลกจึงถูกเข้าใจเป็น 2 ระดับ คือ(โลกของ) พระโยคีและปุถุชน ในบรรดาบุคคล 2 ประเภทนั้น วิถีแห่งปุถุชนย่อมมีความแตกต่างไปจากวิถีแห่งพระโยคี (3)

(3) โยคีย่อมเข้าใจปุถุชนว่าปุถุชนเหล่านี้มีความเห็นผิด

 

  1. แม้พระโยคีทั้งหลายก็ถูกความแตกต่างแห่งความรู้แบ่งแยกอยู่ด้วยบุคคลผู้ที่มีความรู้สูงกว่าเพราะมิได้พิจารณาถึงประโยชน์แห่งการปฏิบัติความปรารถนาของพระโยคีทั้งสองพวกนั้นจึงมีเหตุผลเป็นแบบเดียวกัน
  2. สภาวะ(และสรรพสิ่ง ) ทั้งหลายถูกปุถุชนมองเห็นและเข้าใจอยู่ว่าเป็นความจริง แต่สภาวะเหล่านั้นเป็นเหมือนมายาดังนั้น การทะเลาะถกเถียงกันในสภาวะเหล่านั้นจึงเกิดขึ้นอยู่แก่พระโยคีและปุถุชนทั้งสองฝ่าย
  3. แม้ว่าสรรพสิ่งทั้งหลายมีรูป เป็นต้น เป็นสิ่งที่รับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัส(แต่ความรู้เช่นนั้น) ย่อมไม่เป็นหลักฐานที่เชื่อถือได้(เมื่อเปรียบเทียบ) กับด้วยความรู้ที่มีเหตุผลความรู้นั้นย่อมเป็นสิ่งที่ผิดพลาด เหมือนความเชื่อในร่างกายทั้งหลายอันเป็นสิ่งไม่สะอาดว่าเป็นสิ่งสะอาด ฉะนั้น
  4. พระผู้ทรงเป็นที่พึ่งได้ทรงแสดงสภาวธรรมทั้งหลายไว้เพื่อประโยชน์แห่งการปรากฎอยู่ของสรรพสิ่งแด่ปุถุชน(ให้เข้าใจง่ายขึ้นแต่) ในความเป็นจริง สภาวธรรมเหล่านั้นหามีอยู่จริงเพียงชั่วขณะหนึ่งไม่หากแต่มันถูกเข้าใจอยู่ด้วยสมมติสัจจะเท่านั้นเอง
  5. โทษย่อมไม่มีด้วยสมมติสัจจะของพระโยคีทั้งหลาย เพราะพวกเขาเป็นผู้มองเห็นความจริง(แตกต่าง) กับปุถุชน มิฉะนั้น ความทุกข์ยากของปุถุชนในการกำหนดรูปร่างอันไม่สะอาดของหมู่สตรีจะพึงมีแก่พระโยคีเหล่านั้นได้
  6. ก็แล้วการสั่งสมบุญบารมีจะมีได้อย่างไร ถ้าพระพุทธเจ้าเป็นเพียงมายาถ้าพระองค์ไม่มีอยู่จริง นอกจากนั้น ถ้าหากสรรพสัตว์เป็นเพียงมายาทำไมเขาจึงมีเกิดมีตายซ้ำแล้วซ้ำเล่าได้เป็นอย่างนี้ได้อย่างไร
  1. ตราบใดที่มายายังมีเงื่อนไขมาประชุมกันเข้าตราบนั้น สรรพสิ่งก็คงมีอยู่อย่างนั้นตลอดไปตราบเท่าที่เงื่อนไขมีอยู่
  2. ถ้าจิตไม่มีอยู่จริง ก็คงไม่มีบาปจากการที่ใครคนใดคนหนึ่งฆ่าคนที่เป็นมายาเช่นนั้นหรือตรงกันข้ามก็เพราะว่าใครก็ตามที่ยังมีความหลงผิดอยู่ในมายาบุญและบาปก็ย่อมมีขึ้นได้
  3. จิตเป็นสิ่งไม่มีอยู่จริง ย่อมเป็นไปไม่ได้เพราะไม่ว่าจะเป็นมนตร์หรือสิ่งอื่นๆ ก็ไม่อาจสร้างจิตขึ้นได้สิ่งที่เป็นมายาทั้งหลายก็สร้างสิ่งที่เป็นมายาได้ไม่มีอะไรสักสิ่งเดียวที่ไม่ถูกสร้างขึ้นจากเหตุปัจจัย
  4. ถ้าหากว่าบุคคลสามารถหลุดพ้นได้อย่างแท้จริง ทั้งที่เป็นเพียงสมมติเท่านั้น แม้กระทั่งพระพุทธเจ้าก็จะปฏิสนธิอย่างเป็นสมมติแล้วอย่างนี้จะมีประโยชน์อะไรกับการดำเนินตามโพธิสัตวมรรคเล่า
  5. ก็เมื่อเหตุปัจจัยยังไม่ถูกทำลายไปตราบใด มายาก็จะไม่ถูกขจัดไปตราบนั้น เมื่อใดที่เหตุปัจจัยหมดไป ก็ไม่มีอะไรเหลือแม้สิ่งที่เป็นสมมติ
  6. เมื่อใดไม่มีความหลงผิดอยู่เมื่อนั้น ก็ไม่มีมายาใดถูกค้นพบได้ใช่ไหม
  7. ถ้าหากท่านหมายความว่ามายาไม่มีอยู่โดยตัวของมันเอง แล้วจะรับรู้และเข้าใจสรรพสิ่งได้อย่างไร ถ้าหากจิตมีลักษณะอยู่โดยตัวของมันเอง ในความเป็นจริงก็จะมีอะไรดำรงอยู่อย่างเป็นเอกเทศเล่า
  8. ถ้าหากจิตเป็นมายาแล้วจะรับรู้อะไรด้วยอะไรเล่าพระโลกนาถตรัสว่าจิตไม่อาจรับรู้จิตได้เช่นเดียวกับดาบไม่อาจตัดตัวมันเองได้เช่นเดียวกันกับจิตที่ไม่อาจรู้ตัวมันเองได้
  9. หาก(เป็นเช่นนั้นไซร้) เหมือนดวงประทีปย่อมส่องตัวเองให้สว่างอยู่ดวงประทีปย่อมไม่สามารถทำตัวเองให้สว่างได้เพราะว่ามันมิได้ถูกปกคลุมด้วยความมืด (มาก่อน)
  10. สิ่งที่เป็นสีฟ้าก็ไม่ได้เรียกว่าความเป็นสีฟ้าอีก(วัตถุสีฟ้ากับความเป็นสีฟ้าเป็นอันเดียวกัน)เช่นเดียวกับแก้วผลึกสีฟ้าดังนั้น บางสิ่งอาจเกิดหรือไม่เกิดก็ไม่เกี่ยวกับสิ่งใดอื่นอีก
  11. ไม่อาจเปรียบได้อย่างนั้น ความไม่เป็นสีฟ้าใช้ไม่ได้กับกรณีนี้เพราะสีฟ้ามิได้หมายถึงตัวมันเองว่าก่อนนั้นหินยังไม่ได้เป็นสีฟ้าต่อมาสีฟ้าเข้ามาหินจึงเป็นสีฟ้าตัวสีฟ้าเองไม่สามารถรู้ว่าตัวมันเองว่าเป็นสีฟ้าได้(ก่อนนั้นตัวมันไม่เป็นสีฟ้าแล้วต่อมามันทำให้ตัวมันกลายเป็นสีฟ้า)
  12. (1) การกล่าวว่าตะเกียงส่องสว่างขึ้นก็มีความรู้ตัวขึ้นทันทีก็เมื่อจิตส่องสว่างขึ้นทันทีแล้วจิตจะรู้อะไร
    (1) โศลกนี้ต้นฉบับของ ดร. พี. แอล. ไวทยาขาดหายไป คำแปลนี้นำมาจากฉบับภาษาอังกฤษของ แมเรี่ยน แอล. มาติคซ์(Marion L. Matics).

 

  1. เพราะเข้าใจว่าประทีปได้ส่องสว่างตัวเอง ดังนี้จึงถูกกล่าวยืนยันอยู่ด้วยความรู้แต่เพราะรู้ว่าจิตได้เข้าใจตัวเอง ดังนี้ความเข้าใจเช่นนี้จักถูกความรู้อะไรกล่าวยืนยันอยู่เล่า
  2. เมื่อใด จิตทั้งที่เข้าใจและไม่เข้าใจตัวเอง มิได้ถูกคนใดคนหนึ่งเข้าใจแล้ว เมื่อนั้น จิตนั้นแม้จะถูกกล่าวยืนยันอยู่ก็ย่อมไร้ประโยชน์เหมือนการกล่าวยืนยันกิริยาท่าทางแห่งบุตรสาวของหญิงหมัน ฉะนั้น
  3. หากรู้ว่าตนเองไม่มีอยู่จริง แล้วจิตจะเรียกตนเองอย่างไร ความจำมาจากความสัมพันธ์ระหว่างตัวมันกับสิ่งอื่นที่มันมีประสบการณ์เหมือนดังพิษของหนู(ที่หมีรู้สึกได้ต่อเมื่อพ้นจากฤดูหนาวไปแล้ว )
  4. จิตส่องสว่างในตนเอง เพราะจิตมีคุณสมบัติส่วนตัวมุ่งไปถึงเหตุปัจจัยอื่นจึงรับทราบได้ไม่เป็นเช่นนั้นเสมอไป เช่นเดียวกับการหยอดตาที่ใส่ยาหยอดที่ลงอาคมสามารถเห็นได้ไกล แต่ยาหยอดตาที่อยู่ในตาไม่อาจเห็นได้
  5. แน่นอนสภาพแห่งการเห็น ได้ยินหรือรับรู้นั้นเราไม่ได้ปฏิเสธ แต่ว่ามโนทัศน์แห่งสิ่งปรากฏว่าตัวมันเป็นสิ่งที่มีอยู่จริงนั้นเองที่เป็นเหตุนำไปสู่ความทุกข์เป็นสิ่งที่เราปฏิเสธในที่นี้
  6. มันเป็นเรื่องน่าตลก ถ้าหากกล่าวว่ามายาไม่ต่างไปจากจิต และแตกต่างไปจากจิต แล้วสิ่งที่มีอยู่จริงมันมีอยู่ต่างกันอย่างไร ถ้ามันไม่แตกต่าง มันก็ไม่น่าจะมีอยู่จริง
  7. เช่นเดียวกับมายาก็สามารถเห็นได้แม้ว่ามันมิได้มีอยู่จริง เช่นเดียวกับจิตที่เป็นเสมือนผู้สังเกต ความมีอยู่ของสังสารวัฏก็ย่อมต้องการอะไรรองรับในความมีอยู่จริง เช่นเดียวกับการมีอยู่ของอวกาศ
  8. บางสิ่งที่ไม่ได้มีอยู่จะมีผลโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของบางสิ่งที่เป็นจริงได้อย่างไร ท่านกำลังเข้าใจจิตว่าเป็นสิ่งที่มีอยู่อย่างเอกเทศ
  9. ถ้าหากว่าจิตเป็นอิสระจากสิ่งที่เข้าไปรับทราบได้แล้วสรรพสัตว์ทั้งหมดก็จะเป็นตถาคตครรภ์(บริสุทธิ์) ไป ดังนั้น จะมีประโยชน์อันใดในการพิจารณาพื้นฐานแห่งสังสารวัฏว่าเป็นเพียงจิต
  10. หากแม้ว่าความเหมือนกันกับมายากำหนดรับรู้ได้แล้วจะขจัดมโนภาพ(กิเลส) นั้นออกได้อย่างไร เช่นนักมายากลสร้างผู้หญิงที่เป็นมายาขึ้นมากลับหลงรักสตรีที่เป็นเพียงมายานั้นเสียเอง
  11. เพราะว่ารอยพิมพ์แห่งมโนภาพของผู้สร้างของเขา(นักมายากลนั้น) ที่มีต่อสิ่งทั้งหลายแห่งความรู้ยังไม่ได้ขจัดออก เมื่อได้พบเห็นหญิงสาวที่ตนสร้างขึ้นเอง ความเข้าใจเกี่ยวกับความว่าง(ศูนยตา) ของเขามีน้อย ก็อาจเป็นได้ที่เขาเองกลับมาหลงรักผู้หญิงที่เขาสร้างขึ้น
  12. โดยการสร้างขึ้นแห่งรอยพิมพ์จากความว่างเปล่ารอยพิมพ์แห่งความมีอยู่นั้นถูกทำให้น้อยลง และหลังจากนั้นเมื่อเขาถูกฝกให้ชินให้มองสิ่งที่ปรากฏเป็นเพียงสิ่งที่ไม่มีอยู่จริงเมื่อนั้นเขาก็จะคลายความยึดมั่นมากขึ้น การจะหลงในสิ่งมายาก็จะน้อยลง
  13. ถ้าหากยอมรับว่าปรากฏการณ์ที่ไม่มีอยู่จริงนั้นไม่สามารถที่จะรับรู้ได้แล้วความไม่มีอยู่จริงที่ปราศจากฐานรองรับจะดำรงอยู่นอกเหนือจากจิตได้อย่างไร
  14. เมื่อไม่มีความมีอยู่และไม่มีทั้งความไม่มีอยู่ดำรงอยู่ก่อนจิต(ก็เมื่อทั้งหมดว่าง และความว่างปรากฏแก่จิต) ก็เมื่อไม่มีอะไรอื่นจะเป็นไปได้จริง ไม่มีอะไรเลย มันเป็นแต่เพียงความดับเย็น (สภาวะนิพพาน)
  15. เช่นเดียวกับแก้วสารพัดนึกหรือต้นกัลปพฤกษ์พึงพอใจที่จะปรารถนาดุจดังกับพระชินศรีประสบกับความสมปรารถนาแล้ว ทั้งปณิธานและพุทธสาวกก็มีความสมบูรณ์แล้ว
  16. เมื่อพ่อมดตายไปแล้ว แต่เขาได้เสกมนต์ไว้ที่ผอบ และผอบนั้นก็ยังมีอานุภาพทำให้พิษให้ไปได้แม้กระทั่งว่าเขาตายไปแล้วตั้งนาน
  17. เช่นเดียวกันกับพระพุทธสรีรังคาร ที่เปียมด้วยพลังบุญแห่งการบำเพ็ญเพียรบารมีก็ยังคงมีผลต่อผู้เคารพกราบไหว้แม้ว่าพระพุทธองค์นั้นปรินิพพานไปนานแล้ว
  18. ก็การที่ผู้ถวายอะไรสิ่งใดต่อพระพุทธองค์ซึ่งไม่ทรงพระชนม์อยู่แล้วจะให้ผลได้อย่างไรเพราะว่ามีคำสอนว่าไม่ว่าผู้ใดจะถวายสิ่งใดต่อพระองค์ทั้งที่มีชีวิตอยู่หรือปรินิพพานไปแล้วย่อมได้ผลเสมอกัน
  19. ตามคัมภีร์ได้อธิบายว่าผลของการถวายมีอยู่ไม่ว่าจะเป็นสมมติหรือปรมัตถ์ก็ตามแต่ในทำนองเดียวกันผู้ถวายต่อพระพุทธเจ้าที่ทรงพระชนม์อยู่หรือปรินิพพานแล้วก็ย่อมมีผลเช่นกัน
  20. การหลุดพ้นย่อมมีได้ด้วยความเข้าใจในอริยสัจจ์4 (แล้วในประเด็นนี้) ประโยชน์อะไรจักมีด้วยการเห็นแจ้งในศูนยตาเล่าเพราะตามคัมภีร์กล่าวไว้ว่าการตรัสรู้ย่อมไม่มีหากปราศจากแนวทางนี้
  21. คำสอนของมหายานไม่ใช่พระพุทธวจนะที่แท้คัมภีร์ของพวกท่านเป็นพุทธวจนะที่แท้หรือ เพราะเป็นที่ยอมรับของสงฆ์ทั้งสองฝ่าย ถ้าเช่นนั้นก่อนที่ท่านทั้งสองฝ่าย จะยอมรับว่าเป็นจริง คำสอนต่าง ๆ ก็คงมิใช่พุทธวจนะเช่นนั้นหรือ
  22. แต่ด้วยเหตุผลที่ท่านเชื่อและเคารพต่อมหายานดังที่ท่านทำถ้าหากบางสิ่งจริง (หรือไม่จริง)เพราะการยอมรับของท่าน ดังนี้แล้วพระเวทก็อาจเป็นจริงได้ด้วย(ถ้าท่านยอมรับ )
  23. ถ้าหากพวกท่าน(ไวภาษิกะ) มีความเห็นว่ามหายานมีข้อโต้แย้งมาก ก็เท่ากับปฏิเสธคัมภีร์ของตนด้วย เพราะแต่ละส่วนในคัมภีร์ของท่านนั้นก็มีข้อโต้แย้งจากนักบวชภายนอกศาสนาและจากภายในศาสนานิกายอื่น ๆ อยู่มากมาย
  24. ถ้าหากว่ารากฐานของศาสนาตั้งอยู่ได้เพราะพระภิกษุสำหรับผู้ที่มีความคิดว่าศาสนาตั้งอยู่ได้เพราะพระภิกษุ(เป็นแต่สมมติ) อย่างนั้นแล้วนิพพานก็คงเป็นเรื่องยากไปตามชีวิตของพระภิกษุที่เป็นอยู่อย่างลำบากเป็นแน่
  25. ถ้าหากท่านมีข้อโต้แย้งว่าการหลุดพ้นมีได้เพราะการขจัดมโนภาพทางจิต แล้วมันก็ควรจะเกิดขึ้นหลังจากนั้นทันทีก็เพราะบุคคลยังเห็นพลังกรรมของผู้คนทั้งหลายอยู่แม้ว่าท่านเหล่านั้นจะไม่มีทุกข์แล้ว (เช่น พระมหาโมคคัลลานะ เป็นต้น )
  26. ถ้าหากท่านคิดว่าตราบใดที่ไม่มีตัณหาก็จะไม่มีการเกิดขึ้นอีกตราบนั้น แต่ว่าบุคคลที่ยังไม่ถูกรบกวนด้วยตัณหาอีก ก็ยังคงมีความสับสนอยู่(ยังคงมีชีวิตอยู่)
  27. ตัณหามีเหตุมาจากเวทนาท่าน(พระอรหันต์) เหล่านั้นก็ยังมีเวทนาจิตของพระอรหันต์ทั้งหลายก็ยังท่องเที่ยวไปสู่สิ่งนั้นสิ่งนี้อยู่
  28. ปราศจากสุญญตาความคิดที่ไม่ดีก็จะเกิดขึ้นอีก แม้กระทั่งเข้าถึงจิตที่อยู่ในฌาน ดังนั้นบุคคลควรพิจารณาสุญญตา
  29. ถ้าหากท่านประกาศโพล่งออกมาว่าความเข้ากันได้ของพระสูตรว่าเป็นพระพุทธพจน์ทำไมท่านจึงไม่เคารพต่อมหายาน เพราะโดยทั่วไปแล้วก็มีพระสูตรเช่นเดียวกับหินยานนั่นเอง
  30. แต่ถ้าหาก(คำสอนของ) มหายานผิดทั้งหมด เพียงเพราะบางส่วนไม่ได้รับการยอมรับทำไมจึงไม่พิจารณาว่ามหายานทั้งหมดนั้นเป็นคำสอนของพระชินเจ้าเนื่องเพราะส่วนใดส่วนหนึ่งของพระสูตรนั้นก็มีความเหมือนกับพระสูตรในหินยานเช่นกัน
  31. ใครจะไม่ยอมรับว่าเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าเพียงเพราะโดยพระมหาเถระ เช่นพระมหากัสสปะ นั้นไม่อาจเข้าใจหยั่งถึงพระสูตรนั้นได้เท่านั้นหรือ(ใครละที่จะอ้างเพียงเพราะเหตุผลเท่านี้)
  32. ในขณะที่ยังเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในสังสารวัฏตกอยู่ภายในอำนาจของอุปาทานและความกลัว เพื่อสร้างสมประโยชน์โดยการช่วยให้เป็นอิสระจากอุปาทานและความกลัวนั่นคือผลแห่งสุญญตา
  33. ดังนั้น การมาวิพากษ์วิจารณ์เรื่องสูญญตาเป็นเรื่องที่ใช้ไม่ได้ไม่ต้องสงสัยเลยว่านี้คือทางแห่งพระพุทธเจ้าหรือไม่บุคคลพึงทำสมาธิในสุญญตาอย่างไม่ต้องลังเล
  34. เมื่อรู้ว่าสุญญตาเป็นสิ่งที่ตรงกันข้ามกับความมืด(อวิชชา) แห่งอุปสรรคของความทุกข์และความรู้เหตุใดผู้ปรารถนาสรรพัญุตญาณจึงไม่เข้าไปปฏิบัติสมาธิในสุญญตาเล่า
  35. พึงกลัวต่อสิ่งที่ทำให้เกิดความทุกข์ดีกว่าแต่สุญญตาทำให้ความทุกข์สิ้นไป ทำไมจะต้องมากลัวต่อสุญญตาว่าจะเกิดขึ้น
  36. หากมีสิ่งที่เรียกว่าอัตตาอยู่ความกลัวก็สามารถปรากฏขึ้นได้แต่ถ้าหากไม่มีคำว่าอัตตาอยู่ความกลัวของใครจะมีแต่ที่ไหนกันเล่า
  37. ฟัน ผม และเล็บมิใช่อัตตาและตัวอัตตาก็ไม่เป็นทั้งกระดูกและเลือด มิใช่น้ำมูกหรือเสลด มิใช่ทั้งน้ำเหลืองหรือน้ำหนอง
  38. ทั้งไม่ใช่ไขมันและเหงื่อ ปอดและตับก็ไม่ใช่ทั้งมิใช่อวัยวะภายในอื่นใด ทั้งมิใช่อุจจาระและปัสสาวะ
  39. เนื้อและหนังก็ไม่ใช่ตัวเราไม่ใช่ทั้งความอบอุ่นและพลังลม มิใช่ช่องว่างในร่างกาย และไม่ปรากฏว่าวิญญาณทั้งหกเป็นตัวตน
  40. ถ้าหากการรับรู้เสียง เป็นสิ่งที่มี(ตัวตน) อยู่จริง ดังนั้น เสียงก็คงจะถูกรับรู้อยู่ได้ทุกขณะแต่เมื่อปราศจากวัตถุแห่งการรับรู้บุคคลจะสามารถอธิบายสิ่งที่รับรู้นั้นด้วยอะไรได้เล่า
  41. หากวัตถุทั้งหลายซึ่งไร้การรับรู้สามารถรับรู้(อารมณ์) ได้แล้วไซร้การรับรู้ก็ย่อมผูกยึดอยู่กับท่อนไม้ได้เช่นกัน แต่ความเป็นจริง การรับรู้ไม่มีอยู่หากปราศจากวัตถุแห่งการรับรู้ที่สัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน
  42. เพราะเหตุอะไร ในขณะที่บุคคลรับรู้รูปร่างอยู่จึงไม่สามารถได้ยินเสียงด้วยเล่าเพราะไม่มีความสัมพันธ์กับเสียงปรากฏอยู่ตรงนั้น ดังนั้น การรับรู้(เสียง) จึงไม่มีอยู่
  43. เหตุใดจึงมีบางสิ่งที่มีธรรมชาติเข้าใจเสียงได้และรับรู้รูปร่างได้มีอยู่เล่าก็เช่นเดียวกับคน ๆหนึ่งอาจได้รับการกล่าวว่าเป็นทั้งบิดาและเป็นทั้งบุตรได้ในขณะเดียวกัน แต่ไม่ใช่ความหมายในขั้นปรมัตถ์
  44. เมื่อสัตวะ(ภาวะบริสุทธิ์) รชะ(การกระทำ) และตมะ(ความมืด) ไม่ได้เป็นทั้งพ่อและลูกยิ่งไปกว่านั้นธรรมชาติของธรรมทั้งสามก็ไม่ได้เกี่ยวข้องผูกพันกับความเข้าใจในเสียง
  45. ถ้าหากเป็นสิ่งเดียวกันแต่เล่นหลายบทบาทเหมือนกับนักแสดง เขาก็เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยงแท้ด้วย ถ้าหากเขามีธรรมชาติที่แตกต่าง(ก่อนนั้นเป็นเสียงต่อมาเป็นรูป) อย่างนี้แล้วความเป็นหนึ่งในสภาวะของเขาก็มีไม่ได้
  46. ถ้าหากบทบาทอื่นไม่ใช่เป็นเรื่องจริง แล้วจะแสดงปรากฏการณ์ตามธรรมชาติของเขาอย่างไร ถ้าหากเป็นธรรมชาติของการรับรู้จริง ก็จะมีคำถามตามมาด้วยว่าผู้คนทั้งหมดก็จะเหมือนกัน (แล้วอะไรเป็นความแตกต่าง)
  47. ถ้าหากทั้งรูปกับนามเป็นสิ่งเดียวกันเพราะความมีอยู่ตามธรรมดาของมัน ถ้าหากความต่างกันไม่ถูกต้องแล้วอะไรละที่เป็นฐานแห่งความเหมือนกัน
  48. ถ้าหากว่าอัตตาไม่ใช่จิต เพราะว่าไม่มีการรับรู้เช่นเดียวกับเสื้อผ้าแต่ถ้ามันรับรู้ได้เพราะเป็นสิ่งเดียวกับจิต ผลก็คืออัตตานั้นก็ไม่เที่ยง ไม่คงทน
  49. ถ้าหากอัตตาเป็นสิ่งที่ไม่เปลี่ยนแปลง อะไรจะเกิดขึ้นกับจิต ดังนั้น อวกาศก็จะเป็นจิตไปได้ที่ตัวของมันนั้นไม่มีทั้งจิตและหน้าที่
  50. เมื่อไม่มีความเป็นหนึ่งเดียวกับกรรมและวิบาก ถ้าหากกายทำกรรมแล้วสิ้นสุดลง ใครจะรับผลของกรรม
  51. เมื่อเราทั้งสองต่างก็ยอมรับว่ากรรมและผลของกรรมมีฐานที่แตกต่างกัน ถ้าหาก(ท่าน)กล่าวว่าอัตตาไม่มีการกระทำการจะกล่าวอะไรต่อไปก็คงไม่มีความหมาย
  52. ถ้าหากกล่าวต่อไปอีกว่าผลมีอยู่ในเหตุแต่ความเป็นหนึ่งเดียวกันนี้ไม่อาจเห็นได้ถ้ามีการสอนกันว่าบุคคลที่ทำกรรมก็คือคนทำและคนรับกรรม เกี่ยวกับความสืบเนื่องของจิต(สันตติ)
  53. จิตที่เป็นอดีตและอนาคตก็ไม่ใช่อัตตาเมื่อจิตดังกล่าวยังไม่ปรากฏ ถ้าหากอัตตาเป็นผลมาจากความคิด ก็เมื่อความคิดหายไป อัตตาก็จะหายไปด้วย(แล้วจิตที่เป็นปัจจุบันจะเป็นอัตตาหรือไม่)
  54. เช่นเดียวกับการลอกต้นกล้วยออกแต่ละกลีบ ในทำนองเดียวกัน อัตตาก็ไม่มีอยู่ถ้าหากพิจารณาดูอย่างถี่ถ้วน
  55. ถ้าหากสรรพสัตว์ไม่มีอยู่จริง แล้วจะพัฒนาความเมตตาไปเพื่ออะไร มีความกรุณาต่อใครเล่าแม้ว่าไม่มีสรรพสัตว์อยู่จริง ก็ควรพัฒนาเมตตาไปเพื่อบุคคลที่หวังเพื่อที่จะหลุดพ้นจากโมหะ
  56. ถ้าหากสรรพสัตว์ไม่มีอยู่จริง แล้วใครเล่าที่เป็นผู้พัฒนาเมตตานั้น(ที่จะทำให้สรรพสัตว์เหล่านั้นหลุดพ้น) แม้จะเป็นความจริงอยู่ว่าความเพียรเป็นเพียงมายาแต่ก็เพราะเพื่อที่จะบรรเทาทุกข์สำหรับผู้ที่ยังมีโมหะอยู่
  57. อย่างไรก็ตาม ความยึดมั่นในตน เป็นเหตุแห่งทุกข์ทุกข์เพิ่มมากขึ้นเพราะหลงยึดมั่นในตน นี้คือผลที่หลีกเลี่ยงไม่ได้จากการยึดมั่นในตนนั้น พึงปฏิบัติสมาธิในอนัตตา(ศูนยตา)
  58. ร่างกายนี้มิใช่เท้าหรือน่อง มิใช่ต้นขาหรือสะเอว มิใช่ท้องและหลัง มิใช่หน้าอกและไหล่
  59. ร่างกายนี้มิใช่มือและซี่โครง มิใช่รักแร้และต้นคอ แล้วอะไรเล่าเป็นร่างกาย
  60. ถ้าหากร่างกายอยู่ระหว่างอวัยวะส่วนต่าง ๆ อย่างนั้น และแต่ละอวัยวะก็อยู่ท่ามกลางอวัยวะเหล่านั้น แล้วร่างกายที่แท้จริงจะตั้งอยู่ตรงไหน
  61. ถ้าหากร่างกายตั้งอยู่ที่มือและแขนแต่ละส่วนทั้งหมด ถ้าเช่นนั้นก็มีร่างกายเต็มไปหมดอย่างนั้นหรือ
  62. ร่างกายนั้นไม่อยู่ทั้งภายในและภายนอก แล้วร่างกายจะอยู่ที่มือและอวัยวะอื่น ๆ ได้อย่างไร ก็เมื่อมันไม่ได้แยกออกจากส่วนอื่น ๆ แล้วร่างกายจะพบได้ที่ไหน
  63. ดังนั้น ร่างกายจึงไม่มีอยู่จริง อย่างไรก็ตาม แต่เป็นเพราะความสับสนอันเกิดจากการเข้าไปยึดมั่นในมือและอวัยวะต่าง ๆ จึงเข้าใจผิดว่าร่างกายมีอยู่จริง ดุจดังจิตเข้าใจว่ากองหินเป็นคนเพราะกองหินเป็นรูปคน
  64. พออวัยวะต่าง ๆ มาประชุมกันเข้าร่างกายจึงเกิดขึ้นเหมือนคน เช่นเดียวกับตราบใดที่มือและอวัยวะประชุมกันเข้าร่างกายก็เริ่มจะพบขึ้นตราบนั้น
  65. เช่นเดียวกับ การรวมกันเข้าแห่งนิ้วเท้าทั้งหลาย เท้าจึงปรากฏขึ้นทันทีและนิ้วเองก็ไม่ใช่มีอยู่อย่างแท้จริง เพราะเมื่อแยกย่อยออกไปก็จะพบว่ามันเป็นส่วนต่าง ๆ ที่แยกย่อยลงได้อีก
  66. แม้กระทั่งส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ก็ยังแยกย่อยออกเป็นอณูและอณูก็ยังแยกย่อยลงไปได้อีกตามทิศทั้ง6 ทิศทั้ง6 นั้นก็ว่างเปล่าปราศจากส่วนต่าง ๆ ด้วยเหตุผลนี้เองจึงไม่มีอณูใด ๆ
  67. ก็เมื่อรูปดุจดังความฝัน แล้วใครเล่าที่จะลุ่มหลงอยู่ในรูปนั้น ก็เมื่อรูปไม่มีแล้วจะมีชายมีหญิงได้อย่างไร
  68. ถ้าหากความทุกข์มีอยู่จริง ทำไมมันจึงไม่มีอยู่ในความรู้สึกยินดีถ้าหากความสุขเป็นรสอันอร่อยในอาหาร เหตุใดจึงไม่ชื่นชมรสอร่อยจากรสอาหาร
  69. ถ้าหากความทุกข์มีอยู่จริง พอความสุขเกิดขึ้นอย่างรุนแรง ทำไมความรู้สึกเป็นทุกข์จึงไม่อาจรับรู้ได้เพราะถูกความสุขบดบังเสียเล่า
  70. มีความทุกข์อยู่จริง ๆ แต่มีอยู่ในสภาวะที่ละเอียดอ่อน เมื่อความสุขเกิดขึ้นความทุกข์จึงหายไป ถ้าหากความทุกข์เป็นเช่นเดียวกับความพึงพอใจอื่น แล้วสภาวะที่ละเอียดอ่อนก็เป็นสภาวะที่ละเอียดอ่อนของความสุขไปอย่างนั้นใช่ไหม(คือเป็นตัวเดียวกันอย่างนั้นหรือ )
  71. ถ้าหากความสุขมิได้เกิดขึ้น เมื่อเหตุปัจจัยตรงกันข้ามเกิดขึ้น(ความทุกข์เกิดความสุขไม่เกิด ความสุขเกิดความทุกข์ไม่เกิด) การกล่าวถึงสิ่งที่ยังไม่เกิดว่าเป็นความรู้สึกไม่น่าจะถูกต้อง
  72. ดังนั้น เพื่อเป็นการแก้ความเข้าใจผิดจึงมีข้อวิเคราะห์นี้ไว้เพื่อให้เกิดความซึมซับเหตุผลทางสมาธิของโยคีที่เกิดจากการพิจารณาให้ถือเป็นอาหารหล่อเลี้ยงการเพ่งพิจารณา
  73. ถ้าหากมีช่องว่างระหว่างอายตนะภายในและอายตนะภายนอก จุดกระทบของทั้งสองสิ่งอยู่ที่ใด ถ้าหากมีเทศะเช่นนั้นอยู่ก็ต้องบอกได้ว่าเป็นอะไร แล้วในกรณีนี้จุดสัมผัสจะเป็นระหว่างอะไรกับอะไร
  74. อณูหนึ่งย่อมไม่สามารถปนไปอยู่ในอณูอื่น เพราะมันปราศจากช่องว่าง และถ้าหากอณูนั้นมีขนาดเท่ากันกับอณูอื่น ก็เมื่อไม่มีการแทรกเข้าไป ก็ไม่มีการเชื่อมกันและก็ไม่มีผัสสะได้
  75. จะมีการสัมผัสกับบางสิ่งที่ไม่มีส่วนได้อย่างไร ถ้าหากมีส่วนที่ไม่มีอยู่สามารถเห็นได้โปรดแสดงออกมาดู
  76. เป็นไปไม่ได้เลยสำหรับจิตที่จะรับรู้ได้โดยปราศจากกาย และก็เป็นไปไม่ได้สำหรับกายที่ไร้จิต เพราะว่าเป็นสิ่งที่ไม่ได้มีอยู่จริง ดังที่ได้ให้เหตุผลไว้ก่อนนั้นแล้ว
  77. ดังนั้น เมื่อไม่มีผัสสะ เวทนาจะเกิดขึ้นได้อย่างไร อะไรคือเหตุผลสำหรับความเพียรพยายามของตนเพื่อจะแสวงหาความสบายนั้น ใครที่จะทำให้ความรู้สึกสบายและเจ็บปวดเมื่อสิ่งนั้นไม่มีอยู่จริง
  78. ถ้าไม่มีอัตตาที่จะเข้าไปรับทราบความรู้สึก และถ้าความรู้สึกนั้นไม่ได้มีอยู่แล้วหลังจากความเข้าใจสถานการณ์นี้ทำไมจึงไม่ละความอยากและหนีไปจากความเจ็บปวดนั้นเสีย
  79. เวทนาเห็นได้และสัมผัสได้แต่ต้องเห็นด้วยจิต แต่จิตนั้นมีลักษณะเหมือนความฝันและมายาเมื่อเวทนาเกิดขึ้นพร้อมกับจิต เวทนาจึงไม่อาจรับรู้ได้ด้วยจิต
  80. อะไรที่เกิดขึ้นก่อน ๆ นั้นก็จะถูกจดจำได้แต่สิ่งที่ยังไม่เกิดจะรับรู้ได้อย่างไร ตัวมันย่อมไม่สามารถรับรู้ตัวมันเองได้และก็ไม่อาจรับรู้ได้ด้วยสิ่งอื่นอีก
  81. ไม่มีใครที่จะรับรู้เวทนาได้เพราะว่าแท้ที่จริงแล้ว ก็ไม่ได้มีเวทนาแต่อย่างใด ดังนั้น ในเมื่อไม่ได้มีตัวเวทนาอยู่ใครเล่าจะถูกเวทนาทำร้ายเอาได้
  82. จิตมิได้ตั้งอยู่ในอายตนะภายใน หรือในร่างกาย หรือในอายตนะภายนอก หรือในท่ามกลางระหว่างสิ่งเหล่านี้จิตก็ไม่ได้พบว่าอยู่ภายใน หรือภายนอก หรือที่ไหน ๆ
  83. และจิตนั้นก็ไม่ได้อยู่ที่ร่างกายหรือที่ไหน ๆ ทั้งไม่ได้แทรกอยู่ภายในหรือแยกส่วนอยู่ที่ใดที่หนึ่ง ไม่มีที่ไหนเลย ดังนั้น สรรพสัตว์ทั้งหลายตามธรรมดาแล้วจึงเป็นอิสระอย่างแท้จริง
  84. ถ้าหากว่าวิญญาณรู้ก่อนที่จะมีวัตถุให้รับรู้อย่างนั้นก็แสดงว่าจะอ้างวัตถุอะไรที่ทำให้วิญญาณเกิดขึ้น แต่ถ้าหากวิญญาณที่รู้เกิดพร้อมกับวัตถุที่รับรู้ก็จะอ้างว่าวัตถุอะไรทำให้วิญญาณเกิดขึ้น
  85. แต่ถ้าจิตเกิดหลังจากวัตถุที่ทำให้จิตรับรู้จิตก็จะรับรู้จากอะไร ในลักษณะนี้ก็เป็นที่แน่ใจว่าไม่มีปรากฏการณ์ด ำรงอยู่จริง
  86. ถ้าหากสมมติสัจจะไม่มีอยู่จริงอย่างนี้แล้ว เหตุใดจึงมีความจริง2 ระดับอยู่ด้วยเล่าหากสมมติสัจจะนั้นมีอยู่ได้เพราะ(อาศัย) สมมติสัจจะอื่น ๆ แล้ว สรรพสัตว์จะหลุดพ้นได้อย่างไร
  87. บุคคล(ผู้หลุดพ้น) นั้นเป็นเพียงการจินตนาการ(วิกัลปะ) แห่งความคิดของคนอื่นเท่านั้น แต่เขาหามีอยู่โดยสมมติสัจจะของตนเองไม่ภายหลังที่เขา(บรรลุถึงสัจธรรม)อันแน่นอนแล้ว เขาจึงมีอยู่แต่หากเขายังไม่ได้บรรลุเขาย่อมไม่มีอยู่ดุจสมมติสัจจะนั่นเอง
  88. ทั้งการรับรู้และสิ่งที่รับรู้ทั้งสองอย่างต่างก็เป็นปัจจัยซึ่งกันและกัน ดุจดังทุก ๆ การวิเคราะห์ย่อมขึ้นอยู่กับเหตุผลที่ใช้กันได้โดยทั่วไป
  89. แต่ถ้าบุคคลวิเคราะห์ด้วยวิธีการวิเคราะห์ซึ่งตัวของมันเองได้รับการวิเคราะห์แล้ว แล้วอย่างนี้จะมีการถอยหลังออกไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด เพราะว่าการวิเคราะห์เช่นนั้นก็เป็นการวิเคราะห์อื่นด้วยเช่นกัน
  90. วัตถุแห่งการวิเคราะห์ได้รับการวิเคราะห์แล้ว ก็ไม่มีฐานแห่งการวิเคราะห์หลงเหลืออยู่อีก(ว่างเปล่า) ก็เมื่อไม่มีฐานแห่งการวิเคราะห์แล้ว มันก็ไม่ต้องเกิดอีก นั่นแหละเรียกว่านิพพาน
  91. สำหรับบุคคลที่เชื่อว่าความจริงทั้งสองอย่างมีอยู่จริง ก็ตกอยู่ในฐานะที่ไม่แน่นอนอย่างสุดโต่ง ถ้าหากวัตถุมีอยู่เพราะอำนาจแห่งความคิด แล้วบุคคลจะถึงความมีอยู่จริงแห่งจิตได้อย่างไร
  92. ถ้าหากจิตมีอยู่เพราะอำนาจแห่งวัตถุแห่งจิต บุคคลจะเข้าถึงความมีอยู่จริงของจิตได้อย่างไร ถ้าความมีอยู่จริงของเขาเหล่านั้นเกี่ยวกับอำนาจของจิตและวัตถุแห่งจิต(ต่างมีอยู่จริงเพราะอำนาจของกันและกัน ) ก็ไม่สามารถมีอยู่จริงได้
  93. ถ้าหากไม่มีพ่อโดยปราศจากลูก แล้วจะมีลูกได้อย่างไร(เพราะพ่อก็เคยเป็นลูก)เช่นเดียวกันในทางตรงกันข้าม ถ้าไม่มีลูกก็ไม่มีพ่อ(เพราะลูกก็จะเป็นพ่ออีก) ในทำนองกันนี้ทั้งพ่อทั้งลูกจึงไม่ได้มีอยู่จริง
  94. ถั่วงอกเกิดจากถั่วเขียว ถั่วเขียวก็ได้รับการกล่าวว่าเป็นถั่วงอก ทำไมจิตที่เกิดขึ้นจากสิ่งที่ถูกรู้จึงไม่ได้รับการยืนยันว่ามีอยู่จริงแห่งวัตถุที่รับรู้ได้เล่า
  95. ถั่วงอกได้รับการยอมรับว่าเกิดมาจากถั่วเขียวมีอยู่จริง(ด้วยการรู้จากถั่วงอก) แต่จิตนั้นไม่ใช่รับรู้เหมือนกับถั่วงอก ก็ความมีอยู่ของการรับรู้จะรับรู้ได้อย่างไร เมื่อสิ่งที่รับรู้นั้นได้รับการยืนยันโดยการรับรู้(จิตอาศัยวัตถุรู้และวัตถุก็อาศัยจิตรู้แล้วจะรู้ตนเองอย่างไร )
  96. ผู้คนสังเกตทุก ๆ สาเหตุผ่านการรับรู้โดยตรง เมื่อองค์ประกอบของดอกบัว เช่น เกสรกลีบ เป็นต้น ต่างก็ถูกเหตุอื่น ๆ ทำให้เกิดขึ้นทั้งนั้น
  97. อะไรเล่าที่เป็นเหตุทำให้เกิดเหตุอันหลากหลายเหล่านั้น ก่อนเหตุก่อน ๆ นั้นที่สร้างเหตุเหล่านี้แล้วเหตุทำให้เกิดผลได้อย่างไร เหตุทำให้เกิดผลได้เพราะอำนาจของเหตุก่อน ๆเหล่านั้น
  98. พระอิศวรเป็นปฐมเหตุของโลก หากท่านกล่าว(อธิบาย) อย่างนั้น พระอิศวรเป็นใครกันเล่าถ้าหากพระองค์เป็นปฐมธาตุทั้งหลายก็อาจเป็นได้เช่นนั้น แต่เพราะเหตุใด ความทุกข์ทรมานจึงยังมีอยู่แม้สักว่า(ได้อ้าง) พระนาม(ของพระองค์แล้วก็ตาม)
  99. ยิ่งไปกว่านั้น ธาตุทั้งหลายมีโลก เป็นต้น เป็นสิ่งที่มีสภาวะหลากหลาย ไม่เที่ยง ไม่เคลื่อนไหวและไม่ใช่เทพเจ้าธาตุเหล่านั้นถูกทอดทิ้งละเลยและไม่สะอาด ธาตุนั้นจึงไม่ใช่พระอิศวรแต่อย่างใด
  100. อากาศก็ไม่ใช่พระผู้เป็นเจ้าเพราะว่าอากาศเคลื่อนไหวไม่ได้และอัตตาก็ไม่ใช่พระองค์เพราะได้รับการปฏิเสธแล้ว นอกจากนั้น พระองค์ซึ่งเป็นผู้สร้างก็ไม่สามารถสัมผัสได้จะมีประโยชน์อะไรกับการอธิบายธาตุที่หยั่งรู้ไม่ได้นี้เล่า
  101. อะไรที่พระองค์ประสงค์ที่จะสร้างขึ้น ถ้าหากพระองค์ประสงค์จะสร้างตนเองขึ้น ก็ไม่ใช่อัตตาแล้ว ธรรมชาติแห่งปฐวีธาตุและธาตุอื่น ๆ และพระอิศวรจะเป็นอมตะอย่างไรกันการรับรู้มีได้ก็เพราะสิ่งที่รับรู้และเป็นสิ่งที่ปราศจากการเริ่มต้น
  102. ความสุขและความทุกข์เป็นผลของกรรม การกล่าวเช่นนี้พระอิศวรสร้างอะไร ถ้าหากเหตุนั้นไม่มีจุดเริ่มต้น แล้วผลของกรรมจะมีจุดเบื้องต้นได้อย่างไร
  103. ถ้าหากพระอิศวรผู้เป็นเจ้ามิได้อิงอาศัยสิ่งใด ๆ เลย ทำไมพระองค์จึงไม่สร้างตลอด ไม่เห็นมีอะไรอีกที่พระองค์สร้างต่อ แล้วอย่างนี้พระองค์ยังคงพึ่งพาอะไรอื่นอีกหรือ
  104. ถ้าหากพระอิศวรยังคงต้องอาศัยการรวบรวมอุปกรณ์ใดอีก นั่นก็หมายความว่าพระองค์มิได้เป็นปฐมเหตุต่อไปอีกแล้ว เพราะพระองค์ไม่สามารถละจากสิ่งที่สร้างเมื่อยังต้องอาศัยสิ่งอื่นอยู่ทั้งไม่สามารถสร้างจากสิ่งที่ไม่มีของสิ่งเหล่านั้นได้
  105. ถ้าหากพระอิศวรผู้เป็นเจ้าไม่อยากจะสร้างอะไรต่อไปอีก ก็จะมีคำถามตามมาว่าพระองค์นั้นยังพึ่งพาสิ่งอื่นนอกจากพระองค์เอง หากแม้ว่าพระองค์ประสงค์จะสร้าง พระองค์ก็ยังต้องอาศัยความปรารถนาของพระองค์นั่นเอง แล้วพระองค์จะเป็นผู้เป็นใหญ่แห่งผู้สร้างได้ที่ไหนกัน
  106. ใครที่ประกาศว่าอณูเป็นสิ่งที่เที่ยงแท้ก็เท่ากับว่าปฏิเสธสิ่งก่อน ๆ หน้านั้น ฝ่ายนิกายสางขยะพิจารณาว่าปฐมธาตุเป็นสิ่งที่เที่ยงแท้ในโลก
  107. องค์ประกอบของจักรวาล ได้แก่สัตวะ รชะ และ ตมะ ดำรงอยู่อย่างเท่าเทียมกัน เรียกว่าปฐมธาตุเพราะเป็นสิ่งที่เที่ยงแท้ในโลก
  108. เป็นไปไม่ได้แน่ว่าสิ่งเดียวมีธรรมชาติของทั้งสามสิ่งอยู่ดังนั้น มันจึงดำรงอยู่ไม่ได้เช่นเดียวกันกับพระองค์องค์ประกอบแห่งจักรวาลก็มีไม่ได้เมื่อสิ่งเหล่านั้นจะประกอบกันทั้งสามส่วน
  109. ในเมื่อไม่มีองค์ประกอบแห่งจักรวาลทั้งสามประการ ความมีอยู่ของเสียง กลิ่น รสเป็นต้น ก็ยังมีปรากฏเห็นได้จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะมีความยินดีในสิ่งที่ไม่มีจิต เช่น ในเสื้อผ้าหรือสิ่งอื่น ๆ เป็นต้น
  110. ถ้าหากท่านโต้แย้งว่าสิ่งทั้งหลายมีธรรมชาติของสาเหตุอยู่แล้วมีสิ่งเหล่านั้นที่ยังไม่ได้พิจารณาอยู่อีกหรือ สำหรับท่านความยินดีเป็นเหมือนกับสาเหตุแต่เสื้อผ้าไม่ใช่และสิ่งอื่น ๆ เช่นเดียวกันไม่ใช่ผลของเหตุ
  111. ความสุขและความรู้สึกอื่น ๆ อาจจะสัมพันธ์กับสิ่งอื่น เช่น เสื้อผ้าแต่เมื่อไร้สิ่งเหล่านั้นก็จะไม่มีความสุขหรือความรู้สึกเช่นนั้น ความเที่ยงแท้ของความสุขและความรู้สึกอื่น ๆก็ไม่อาจยืนยันได้ว่ามีอยู่จริง
  112. ถ้าหากความสุขสามารถมีปรากฏได้จริง ๆ ทำไมความรู้สึกนั้นจึงไม่สามารถเข้าใจได้จับต้องได้ถ้าหากท่านเห็นว่าความสุขเป็นสภาวะที่ละเอียดอ่อน ทำไมมันจึงมีทั้งหยาบและละเอียดอ่อนได้
  113. สภาวะของความสุขที่ละเอียดอ่อนแฝงอยู่ในสภาวะที่หยาบ ความหยาบและความละเอียดอ่อนของมันจึงเป็นสิ่งที่ไม่เที่ยงแล้ว ทำไมจึงไม่ยอมรับไปเสียว่าในเรื่องนี้เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยงแท้
  114. ถ้าหากสภาวะหยาบไม่ได้แตกต่างไปจากความสุข แล้วความไม่เที่ยงของความสุขก็ต้องมีได้ถ้าหากท่านคิดว่าบางสิ่งที่ไม่ได้ดำรงอยู่ยังไม่เกิดขึ้น เพราะไม่มีอะไรดำรงเหลืออยู่อีก แล้วท่านก็ยอมรับ แม้ว่านั่นกำลังค้านความจุดมุ่งหมายของท่านเอง จุดกำเนิดของบางสิ่งที่ปรากฏเป็นสิ่งที่ไม่ได้มีอยู่ตอนนี้
  115. ถ้าหากท่านยอมรับว่าผลเป็นปัจจุบันเหตุแล้วถ้าบุคคลทานข้าว ก็กำลังทานอุจจาระอยู่อย่างนั้นหรือ และเมล็ดต้นฝ่ายก็จะได้รับการซื้อมีราคาของเสื้อผ้าและสามารถฉีกได้ดุจดังผ้ากระนั้นหรือ
  116. ถ้าหากท่านโต้แย้งว่าคนทั่วไปไม่อาจเห็นสิ่งนี้ได้เพราะโมหะบดบัง ก็อาการที่ปรากฏอย่างนี้ก็ปรากฏแม้กระทั่งบุคคลที่เห็นความจริงด้วย
  117. ถ้าหากว่าคนทั่วไปรู้ได้อย่างนั้น ทำไมคนเหล่านั้นจึงไม่เห็นมัน ถ้าหากท่านกล่าวแย้งว่าคนทั่วไปไม่มีจิตที่ผ่องใส อย่างนั้นแล้วแม้กระทั่งสิ่งปรากฏอื่น ๆ ที่เขารับรู้ก็ไม่เป็นจริงไปด้วย
  118. ถ้าหากการรับรู้ที่ถูกต้องเป็นผิดไปด้วย แล้วอย่างนี้สุญญตาก็เป็นสิ่งผิดไปด้วยหรือ หากเป็นเช่นนั้น การทำสมาธิในเรื่องปรมัตถ์ก็เป็นสิ่งไม่ถูกต้องแน่นอน
  119. โดยปราศจากการสืบหาสิ่งที่อยู่ในความคิด ความไม่มีอยู่ของมันก็ไม่อาจรู้ได้ดังนั้น ถ้าหากสิ่งนั้นผิด ความมีไม่มีอยู่ของมันก็พลอยไม่ถูกต้องไปด้วย
  120. ดังนั้น เมื่อบุตรตายในความฝัน ความคิดว่าเขาไม่มีอยู่แล้ว ป่องกันการเกิดความคิดขึ้นของการดำรงอยู่ของเขาและนั่นเป็นความผิดไปด้วย
  121. ดังนั้น ด้วยการวิเคราะห์อย่างนี้ไม่มีอะไรดำรงอยู่โดยปราศจากเหตุทั้งไม่มีอะไรดำรงอยู่อย่างเป็นเอกเทศโดยไม่อาศัยปัจจัยใด ทั้งหมดล้วนแต่อาศัยเหตุปัจจัยทั้งสิ้น
  122. ไม่มีอะไรมาจากบางสิ่งเท่านั้น ไม่มีอะไรหลงเหลืออยู่และไม่มีอะไรดับไป อะไรคือความแตกต่างระหว่างมายากับการเข้าใจผิดว่าโดยความไม่รู้ว่าจริงเล่า
  123. สิ่งไหนที่สร้างด้วยมายาและสร้างโดยเหตุทั้งหลาย เหตุเหล่านั้นมาจากไหนแล้วเหตุเหล่านั้นจะไปที่ไหน
  124. จะมีอะไรที่มีอยู่จริง ในสิ่งที่เป็นเพียงมายาเช่นเดียวกับภาพสะท้อน ที่รับรู้ได้ด้วยการประชุมเข้าของบางสิ่งเท่านั้น และไม่ใช่ไม่มีอะไร
  125. สำหรับบางสิ่งที่มีอยู่แล้ว ความจำเป็นอะไรที่จะการกล่าวถึงเหตุอีก ถ้าหากบางสิ่งไม่ได้มีอยู่อะไรคือความจำเป็นสำหรับเหตุอีกเล่า
  126. บางสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้นก็ไม่ใช่สิ่งที่สิ่งที่จะเปลี่ยนแปลงอีก ไม่ต้องพูดถึงเหตุที่จะมีนับล้าน ๆ แล้วจะมีบางสิ่งในสภาวะเช่นนั้นดำรงได้อย่างไร และอะไรอื่นอีกที่จะมาสู่ความมีอยู่
  127. ถ้าหากไม่มีสิ่งที่มีอยู่ระหว่างสิ่งที่ยังไม่มีเมื่อจะมีสิ่งที่จะมาสู่ความมีอยู่แต่ที่ไหน สำหรับสิ่งที่ยังไม่มีก็จะไม่ปรากฏตราบเท่าที่สิ่งที่มีอยู่นั้นยังไม่ได้ถูกสร้างขึ้นเลย
  128. เมื่อสิ่งที่ยังไม่มีก็ไม่ได้ปรากฏขึ้น จะมีโอกาสอะไรอีกสำหรับสิ่งที่มีอยู่เล่าสิ่งที่มีอยู่ก็ไม่มีก็ย่อมไม่มาเป็นสิ่งที่มีอยู่ได้เมื่อเป็นเช่นนั้น ก็จะเป็นคำตอบว่าจะมีธรรมชาติของสิ่งทั้งสองได้อย่างไร
  129. ดังนั้น จึงไม่มีทั้งความดับทั้งไม่มาสู่ความมีอยู่ในขณะนั้น ดังนั้น โลกทั้งหมดจึงไม่ได้เกิดขึ้นและจึงไม่ได้ดับไป
  130. สภาวะแห่งความมีอยู่เป็นดั่งความฝัน ที่วิเคราะห์ไว้เช่นนี้เช่นเดียวกับต้นกล้วย ในความเป็นจริงจึงไม่มีความแตกต่างระหว่างผู้เข้าถึงนิพพานและผู้ไม่เข้าถึง
  131. เมื่อปรากฏการณ์ทุกอย่างมีแต่ความว่าง(สุญญตา) ในนัยนี้แล้วจะมีอะไรเล่าที่จะได้หรือที่จะเสีย ใครจะได้รับเกียรติยกย่องหรือใครที่จะถูกขับไล่อีก
  132. ความสุขหรือความทุกข์จะมีแต่ที่ไหน อะไรเล่าคือความดีใจและความเสียใจ เมื่อเข้าไปพิจารณาอย่างถ่องแท้ในธรรมชาติภายใน อะไรคือความอยากและอยากไปเพื่ออะไร
  133. เมื่อตั้งอยู่บนฐานการพิจารณาเช่นนี้โลกแห่งสรรพสัตว์ทั้งหลายคืออะไร และใครเล่าที่สิ้นชีวิตในที่นี้ใครคือผู้ที่จะมาเกิดใหม่ใครที่ดำรงอยู่แล้ว ใครคือญาติพี่น้อง ใครคือเพื่อนของใคร
  134. ขอให้ทุกคนจงเข้าใจทุกสิ่งเหมือนดังที่เราเข้าใจว่าทุกสิ่งเป็นเหมือนอากาศ เขาเหล่านั้นโกรธเพราะขัดแย้งและดีใจเพราะยินดีร่วมกัน
  135. แสวงหาความสุขในตนของเขาเหล่านั้นด้วยการกระทำชั่ว เขาทั้งหลายจึงดำรงอยู่อย่างเป็นทุกข์ด้วยความโศก ด้วยความยุ่งยาก ด้วยความผิดหวัง และจึงฆ่าฟันห้ำหั่นกันและกัน
  136. หลังจากที่เวียนว่ายตายเกิดในการความมีชีวิตในสังสารวัฏเช่นนี้แล้ว ๆ เล่าๆ จึงทำให้เคยชินต่อความยินดีอีก เขาเหล่านั้นจึงตายและตกไปสู่นรกซึ่งไม่มีที่สิ้นสุดและเป็นทุกข์อย่างยิ่ง
  137. มีกับดักหลุมพรางอยู่ในโลกีย์มากมาย แต่ว่าสิ่งเหล่านี้ไม่ใช่ความมีอยู่จริงที่นี่เป็นสิ่งที่เป็นไปด้วยกันไม่ได้ความจริงมิใช่สิ่งที่เป็นเช่นนี้
  138. ไม่อาจจะเปรียบเทียบได้กับความเบียดเบียนกันและทะเลแห่งความทุกข์ที่ไร้ขอบเขตความเข้มแข็งแทบจะไม่มีในที่นี้และชีวิตนี้สั้นนัก
  139. ในชีวิตของคน ๆ หนึ่ง มักสิ้นไปกับความเจ็บป่วย ความหิว ความเหนื่อยอ่อน และความหลับ และอุบัติเหตุหมดไปกับในการคบหาอันไร้ประโยชน์กับคนพาล
  140. ชีวิตผ่านไปอย่างรวดเร็วและสูญเปล่าการรู้จักแยกแยะยากที่จะเกิดขึ้นที่นี่ได้แล้วจะมีทางป่องกันอุปนิสัยที่ไม่ดีได้อย่างไร
  141. เพราะเป็นเช่นนี้มารจึงผลักเขาเข้าไปสู่สภาวะที่เลวร้ายลำบาก เพราะการหลีกออกจากทางที่ผิด ความสงสัยจึงยากที่จะข้ามพ้นไปได้
  142. และความผ่อนคลายก็ยากที่จะประสบในที่นี้ได้การมาประสูติของพระพุทธเจ้าจึงเป็นปรากฏการณ์ที่หาได้ยากอย่างยิ่ง กระแสแห่งมโนภาพเป็นเรื่องยากที่จะขจัด โอ..ความทุกข์จะจบลงได้ ณ ที่ไหนกันเล่า
  143. โอ…ช่างเป็นความน่าสังเวชต่อสรรพสัตว์ที่ลอยไปตามกระแสแห่งความทุกข์ใครเล่าแม้กระทั่งประสบทุกข์อยู่อย่างนี้ก็ยังไม่พิจารณาเห็นถึงสถานการณ์อันเลวร้ายเลย
  144. เช่นเดียวกับบุคคลผู้จมน้ำแต่กลับกระโจนเข้าสู่กองไฟอีก พวกเขากลับมองเห็นตนเองนั้นมีความโชคดีหลุดพ้นแล้ว แม้ว่ายังคงได้รับความทุกข์อย่างยิ่ง
  145. ดังการดำรงชีวิตอยู่อย่างนี้ทำเหมือนแสดงว่าเขาทั้งหลายไม่ต้องแก่และไม่ต้องตายฉะนั้น ความฉิบหายอย่างใหญ่หลวงมาถึงด้วยความตายที่กำลังมาถึงเฉพาะหน้าแล้ว
  146. เมื่อใดกันเล่าดังนั้น ด้วยความเพียรพยายามของข้าพเจ้าด้วยการเกิดขึ้นแห่งเมฆคือบุญของข้าพเจ้าขอให้ข้าพเจ้านำความสงบสุขมาให้แก่บุคคลผู้ที่ถูกความทุกข์รุมเร้าเถิด
  147. เมื่อใดกันเล่าด้วยบุญกุศลและการกระทำดีอย่างตั้งใจเพื่อเปิดออกซึ่งปรมัตถสัจจะ ขอให้ข้าพเจ้าได้แสดงสุญญตาต่อบุคคลที่มีทิฏฐิอันไม่แจ้งชัดนัก

อ้างอิง (Reference)

Audio Source: 
http://www.bodhisvara.com/

Text Source: 

http://www.dsbcproject.org/node/4815

Text Version: 

Devanāgarī

Input Personnel: 

DSBC Staff

Input Date: 

2005

Proof Reader: 

Miroj Shakya

Supplier: 

Nagarjuna Institute of Exact Methods

Sponsor: 

University of the West

อ้างอิง

1. Digital Sanskrit Buddhist Canon, 2013, Bodhicaryāvatāra [Online], Available: http://www.dsbcproject.org[2016, May 26].

2. BODHISVARA, 2013, Śāntideva’s Bodhicaryāvatāra [Online], Available: http://www.bodhisvara.com/[2016, May 26].

3.พระมหาวิชาญ กำเหนิดกลับ, 2549, การศึกษาเชิงวิเคราะห์คัมภีร์โพธิจรรยาวตาร , วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาภาษาสันสกฤต ภาควิชาภาษาตะวันออก มหาวิทยาลัยศิลปากร หน้า ภาคผนวก ข คัมภีร์โพธิจรรยาวตาร ฉบับแปล

อ่านเอกสารตัวเต็มจากสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร
http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/thapra/PhramahaVichan_Kamnerdklab/Fulltext.pdf

เพื่อการศึกษาภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License
แสดงที่มาข้อมูลที่มาของแหล่งเอกสาร-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0  (CC BY-NC-ND 4.0)

Loading

Be the first to comment on "คัมภีร์โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ ปริเฉทที่ ๙"

Leave a comment