คัมภีร์โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ ปริเฉทที่ ๘

แบ่งปันในสังคมออนไลน์

 

โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ

ปริเฉทที่ ๘ ชื่อ ธยานบารมี

20160219133737

โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ ปริเฉทที่ ๘ ชื่อ ธยานบารมี

ในปริเฉทที่ ๘ ท่านศานติเทวะอธิบายถึงพระโพธิสัตว์หมั่นอบรมฝึกฝนจิตใจตนให้สงบตั้งมั่นเป็นสมาธิไม่หวั่นไหวในอํานาจของกิเลสทั้งหลายมี โลภ โกรธ หลง เป็นต้น อันจัดเป็นฝ่ายสมถภาวนา ส่วนวิปัสสนานั้น กล่าวว่า พระโพธิสัตว์พึงพิจารณาแยกแยะให้เห็นสภาพความเป็นจริงของนามรูปทั้งของตนเองและคนอื่นว่าล้วนเป็นสิ่งไม่เที่ยงแท้แน่นอน เป็นทุกข์และเป็นอนัตตา

ต้นฉบับจากโครงการ DSBC ปริวรรตเป็นไทยโดยโปรแกรมไทย-สันสคริปท์ เสียงจากโครงการ Bodhisvara ในส่วนคำแปลได้รับอนุญาตจากผู้แปลให้เผยแพร่โดย พระมหาวิชาญ กำเหนิดกลับ

[คลิกเพื่อเปิดเสียง]

ปริวรรตเป็นไทยคงรูป

๘ ธฺยานปารมิตา นาม อษฺฏมะ ปริจฺเฉทะฯ

วรฺธยิตฺไววมุตฺสาหํ สมาเธา สฺถาปเยนฺมนะฯ

วิกฺษิปฺตจิตฺตสฺตุ นระ เกฺลศทํษฺฏฺรานฺตเร สฺถิตะ๚๑๚

กายจิตฺตวิเวเกน วิเกฺษปสฺย น สํภวะฯ

ตสฺมาโลฺลกํ ปริตฺยชฺย วิตรฺกานฺ ปริวรฺชเยตฺ๚๒๚

สฺเนหานฺน ตฺยชฺยเต โลโก ลาภาทิษุ จ ตฤษฺณยาฯ

ตสฺมาเทตตฺปริตฺยาเค วิทฺวาเนวํ วิภาวเยตฺ๚๓๚

ศมเถน วิปศฺยนาสุยุกฺตะ

กุรุเต เกฺลศวินาศมิตฺยเวตฺยฯ

ศมถะ ปฺรถมํ คเวษณียะ

ส จ โลเก นิรเปกฺษยาภิรตฺยา๚๔๚

กสฺยานิตฺเยษฺวนิตฺยสฺย สฺเนโห ภวิตุมรฺหติฯ

เยน ชนฺมสหสฺราณิ ทฺรษฺฏวฺโย น ปุนะ ปฺริยะ๚๕๚

อปศฺยนฺนรติํ ยาติ สมาเธา น จ ติษฺฐติฯ

น จ ตฤปฺยติ ทฤษฺฏฺวาปิ ปูรฺววทฺพาธฺยเต ตฤษา๚๖๚

น ปศฺยติ ยถาภูตํ สํเวคาทวหียเตฯ

ทหฺยเต เตน โศเกน ปฺริยสํคมกางฺกฺษยา๚๗๚

ตจฺจินฺตยา มุธา ยาติ หฺรสฺวมายุรฺมุหุรฺมุหุะฯ

อศาศฺวเตน ธรฺเมณ ธรฺโม ภฺรศฺยติ ศาศฺวตะ๚๘๚

พาไละ สภาคจริโต นิยตํ ยาติ ทุรฺคติมฺฯ

เนษฺยเต วิษภาคศฺจ กิํ ปฺราปฺตํ พาลสํคมาตฺ๚๙๚

กฺษณาทฺภวนฺติ สุหฤโท ภวนฺติ ริปวะ กฺษณาตฺฯ

โตษสฺถาเน ปฺรกุปฺยนฺติ ทุราราธาะ ปฤถคฺชนาะ๚๑๐๚

หิตมุกฺตาะ ปฺรกุปฺยนฺติ วารยนฺติ จ มํา หิตาตฺฯ

อถ น ศฺรูยเต เตษํา กุปิตา ยานฺติ ทุรฺคติมฺ๚๑๑๚

อีรฺษฺโยตฺกฤษฺฏาตฺสมาทฺทฺวนฺทฺโว หีนานฺมานะ สฺตุเตรฺมทะฯ

อวรฺณาตฺปฺรติฆศฺเจติ กทา พาลาทฺธิตํ ภเวตฺ๚๑๒๚

อาตฺโมตฺกรฺษะ ปราวรฺณะ สํสารรติสํกถาฯ

อิตฺยาทฺยวศฺยมศุภํ กิํจิทฺพาลสฺย พาลตะ๚๑๓๚

เอวํ ตสฺยาปิ ตตฺสงฺคาตฺเตนานรฺถสมาคมะฯ

เอกากี วิหริษฺยามิ สุขมกฺลิษฺฏมานสะ๚๑๔๚

พาลาทฺทูรํ ปลาเยต ปฺราปฺตมาราธเยตฺปฺริไยะฯ

น สํสฺตวานุพนฺเธน กิํ ตูทาสีนสาธุวตฺ๚๑๕๚

ธรฺมารฺถมาตฺรมาทาย ภฤงฺควตฺ กุสุมานฺมธุฯ

อปูรฺว อิว สรฺวตฺร วิหริษฺยามฺยสํสฺตุตะ๚๑๖๚

ลาภี จ สตฺกฤตศฺจาหมิจฺฉนฺติ พหวศฺจ มามฺฯ

อิติ มรฺตฺยสฺย สํปฺราปฺตานฺมรณาชฺชายเต ภยมฺ๚๑๗๚

ยตฺร ยตฺร รติํ ยาติ มนะ สุขวิโมหิตมฺฯ

ตตฺตตฺสหสฺรคุณิตํ ทุะขํ ภูตฺโวปติษฺฐติ๚๑๘๚

ตสฺมาตฺปฺราชฺโญ น ตามิจฺเฉทิจฺฉาโต ชายเต ภยมฺฯ

สฺวยเมว จ ยาตฺเยตทฺไธรฺยํ กฤตฺวา ปฺรตีกฺษตามฺ๚๑๙๚

พหโว ลาภิโน’ภูวนฺ พหวศฺจ ยศสฺวินะฯ

สห ลาภยโศภิสฺเต น ชฺญาตาะ กฺว คตา อิติ๚๒๐๚

มาเมวานฺเย ชุคุปฺสนฺติ กิํ ปฺรหฤษฺยามฺยหํ สฺตุตะฯ

มาเมวานฺเย ปฺรศํสนฺติ กิํ วิษีทามิ นินฺทิตะ๚๒๑๚

นานาธิมุกฺติกาะ สตฺตฺวา ชิไนรปิ น โตษิตาะฯ

กิํ ปุนรฺมาทฤไศรชฺไญสฺตสฺมาตฺกิํ โลกจินฺตยา๚๒๒๚

นินฺทนฺตฺยลาภินํ สตฺตฺวมวธฺยายนฺติ ลาภินมฺฯ

ปฺรกฤตฺยา ทุะขสํวาไสะ กถํ ไตรฺชายเต รติะ๚๒๓๚

น พาละ กสฺยจินฺมิตฺรมิติ โจกฺตํ ตถาคไตะฯ

น สฺวารฺเถน วินา ปฺรีติรฺยสฺมาทฺพาลสฺย ชายเต๚๒๔๚

สฺวารฺถทฺวาเรณ ยา ปฺรีติราตฺมารฺถํ ปฺรีติเรว สาฯ

ทฺรวฺยนาเศ ยโถทฺเวคะ สุขหานิกฤโต หิ สะ๚๒๕๚

นาวธฺยายนฺติ ตรโว น จาราธฺยาะ ปฺรยตฺนตะ

กทา ไตะ สุขสํวาไสะ สห วาโส ภเวนฺมม๚๒๖๚

ศูนฺยเทวกุเล สฺถิตฺวา วฤกฺษมูเล คุหาสุ วาฯ

กทานเปโกฺษ ยาสฺยามิ ปฤษฺฐโต’นวโลกยนฺ๚๒๗๚

อมเมษุ ปฺรเทเศษุ วิสฺตีรฺเณษุ สฺวภาวตะฯ

สฺวจฺฉนฺทจารฺยนิลโย วิหริษฺยามฺยหํ กทา๚๒๘๚

มฤตฺปาตฺรมาตฺรวิภวศฺเจาราสํโภคจีวระฯ

นิรฺภโย วิหริษฺยามิ กทา กายมโคปยนฺ๚๒๙๚

กายภูมิํ นิชํา คตฺวา กงฺกาไลรปไระ สหฯ

สฺวกายํ ตุลยิษฺยามิ กทา ศตนธรฺมิณมฺ๚๓๐๚

อยเมว หิ กาโย เม เอวํ ปูติรฺภวิษฺยติฯ

ศฤคาลา อปิ ยทฺคนฺธานฺโนปสรฺเปยุรนฺติกมฺ๚๓๑๚

อสฺไยกสฺยาปิ กายสฺย สหชา อสฺถิขณฺฑกาะฯ

ปฤถกฺ ปฤถคฺคมิษฺยนฺติ กิมุตานฺยะ ปฺริโย ชนะ๚๓๒๚

เอก อุตฺปทฺยเต ชนฺตุรฺมฺริยเต ไจก เอว หิฯ

นานฺยสฺย ตทฺวฺยถาภาคะ กิํ ปฺริไยรฺวิฆฺนการไกะ๚๓๓๚

อธฺวานํ ปฺรติปนฺนสฺย ยถาวาสปริคฺรหะฯ

ตถา ภวาธฺวคสฺยาปิ ชนฺมาวาสปริคฺรหะ๚๓๔๚

จตุรฺภิะ ปุรุไษรฺยาวตฺส น นิรฺธารฺยเต ตตะฯ

อาโศจฺยมาโน โลเกน ตาวเทว วนํ วฺรเชตฺ๚๓๕๚

อสํสฺตวาวิโรธาภฺยาเมก เอว ศรีรกะฯ

ปุรฺวเมว มฤโต โลเก มฺริยมาโณ น โศจติ๚๓๖๚

น จานฺติกจราะ เกจิจฺโฉจนฺตะ กุรฺวเต วฺยถามฺฯ

พุทฺธาทฺยนุสฺมฤติํ จาสฺย วิกฺษิปนฺติ น เกจน๚๓๗๚

ตสฺมาเทกากิตา รมฺยา นิรายาสา ศิโวทยาฯ

สรฺววิเกฺษปศมนี เสวิตวฺยา มยา สทา๚๓๘๚

สรฺวานฺยจินฺตานิรฺมุกฺตะ สฺวจิตฺไตกาคฺรมานสะฯ

สมาธานาย จิตฺตสฺย ปฺรยติษฺเย ทมาย จ๚๓๙๚

กามา หฺยนรฺถชนกา อิห โลเก ปรตฺร จฯ

อิห พนฺธวโธจฺเฉไทรฺนรกาเทา ปรตฺร จ๚๔๐๚

ยทรฺถํ ทูตทูตีนํา กฤตาญฺชลิรเนกธาฯ

น จ ปาปมกีรฺติรฺวา ยทรฺถํ คณิตา ปุรา๚๔๑๚

ปฺรกฺษิปฺตศฺจ ภเย’ปฺยาตฺมา ทฺรวิณํ จ วฺยยีกฤตมฺฯ

ยานฺเยว จ ปริษฺวชฺย พภูโวตฺตมนิรฺวฤติะ๚๔๒๚

ตานฺเยวาสฺถีนิ นานฺยานิ สฺวาธีนานฺยมมานิ จฯ

ปฺรกามํ สํปริษฺวชฺย กิํ น คจฺฉสิ นิรฺวฤติมฺ๚๔๓๚

อุนฺนามฺยมานํ ยตฺนาทฺยนฺนียมานมโธ หฺริยาฯ

ปุรา ทฤษฺฏมทฤษฺฏํ วา มุขํ ชาลิกยาวฤตมฺ๚๔๔๚

ตนฺมุขํ ตฺวตฺปริเกฺลศมสหทฺภิริวาธุนาฯ

คฤไธฺรรฺวฺยกฺตีกฤตํ ปศฺย กิมิทานีํ ปลายเส๚๔๕๚

ปรจกฺษุรฺนิปาเตภฺโย’ปฺยาสีทฺยตฺปริรกฺษิตมฺฯ

ตททฺย ภกฺษิตํ ยาวตฺ กิมีรฺษฺยาโล น รกฺษสิ๚๔๖๚

มําโสจฺฉฺรยมิมํ ทฤษฺฏฺวา คฤไธฺรรนฺไยศฺจ ภกฺษิตมฺฯ

อาหาระ ปูชฺยเต’นฺเยษํา สฺรกฺจนฺทนวิภูษไณะ๚๔๗๚

นิศฺจลาทปิ เต ตฺราสะ กงฺกาลาเทวมีกฺษิตาตฺฯ

เวตาเลเนว เกนาปิ จาลฺยมานาทฺภยํ น กิมฺ๚๔๘๚

เอกสฺมาทศนาเทษํา ลาลาเมธฺยํ จ ชายเตฯ

ตตฺราเมธฺยมนิษฺฏํ เต ลาลาปานํ กถํ ปฺริยมฺ๚๔๙๚

ตูลครฺไภรฺมฤทุสฺปรฺไศ รมนฺเต โนปธานไกะฯ

ทุรฺคนฺธํ น สฺรวนฺตีติ กามิโน’เมธฺยโมหิตาะ๚๕๐๚

ยตฺร จฺฉนฺเน’ปฺยยํ ราคสฺตทจฺฉนฺนํ กิมปฺริยมฺฯ

น เจตฺปฺรโยชนํ เตน กสฺมาจฺฉนฺนํ วิมฤทฺยเต๚๕๑๚

ยทิ เต นาศุเจา ราคะ กสฺมาทาลิงฺคเส’ปรมฺฯ

มําสกรฺทมสํลิปฺตํ สฺนายุพทฺธาสฺถิปญฺชรมฺ๚๕๒๚

สฺวเมว พหฺวเมธฺยํ เต เตไนว ธฤติมาจรฯ

อเมธฺยภสฺตฺรามปรํา คูถฆสฺมร วิสฺมร๚๕๓๚

มําสปฺริโย’หมสฺเยติ ทฺรษฺฏุํ สฺปฺรษฺฏุํ จ วาญฺฉสิฯ

อเจตนํ สฺวภาเวน มําสํ ตฺวํ กถมิจฺฉสิ๚๕๔๚

ยทิจฺฉสิ น ตจฺจิตฺตํ ทฺรษฺฏุํ สฺปฺรษฺฏุํ จ ศกฺยเตฯ

ยจฺจ ศกฺยํ น ตทฺเวตฺติ กิํ ตทาลิงฺคเส มุธา๚๕๕๚

นาเมธฺยมยมนฺยสฺย กายํ เวตฺสีตฺยนทฺภุตมฺฯ

สฺวาเมธฺยมยเมว ตฺวํ ตํ นาไวษีติ วิสฺมยะ๚๕๖๚

วิฆนารฺกําศุวิกจํ มุกฺตฺวา ตรุณปงฺกชมฺฯ

อเมธฺยเศาณฺฑจิตฺตสฺย กา รติรฺคูถปญฺชเร๚๕๗๚

มฤทาทฺยเมธฺยลิปฺตตฺวาทฺยทิ น สฺปฺรษฺฏุมิจฺฉสิฯ

ยตสฺตนฺนิรฺคตํ กายาตฺตํ สฺปฺรษฺฏุํ กถมิจฺฉสิ๚๕๘๚

ยทิ เต นาศุเจา ราคะ กสฺมาทาลิงฺคเส ปรมฺฯ

อเมธฺยเกฺษตฺรสํภูตํ ตทฺพีชํ เตน วรฺธิตมฺ๚๕๙๚

อเมธฺยภวมลฺปตฺวานฺน วาญฺฉสฺยศุจิํ กฤมิมฺฯ

พหฺวเมธฺยมยํ กายมเมธฺยชมปีจฺฉสิ๚๖๐๚

น เกวลมเมธฺยตฺวมาตฺมียํ น ชุคุปฺสสิฯ

อเมธฺยภาณฺฑานปรานฺ คูถฆสฺมร วาญฺฉสิ๚๖๑๚

กรฺปูราทิษุ หฤทฺเยษุ ศาลฺยนฺนวฺยญฺชเนษุ วาฯ

มุขกฺษิปฺตวิสฤษฺเฏษุ ภูมิรปฺยศุจิรฺมตา๚๖๒๚

ยทิ ปฺรตฺยกฺษมปฺเยตทเมธฺยํ นาธิมุจฺยเสฯ

ศฺมศาเน ปติตานฺ โฆรานฺ กายานฺ ปศฺยาปรานปิ๚๖๓๚

จรฺมณฺยุตฺปาฏิเต ยสฺมาทฺภยมุตฺปทฺยเต มหตฺฯ

กถํ ชฺญาตฺวาปิ ตไตฺรว ปุนรุตฺปทฺยเต รติะ๚๖๔๚

กาเย นฺยสฺโต’ปฺยเสา คนฺธศฺจนฺทนาเทว นานฺยตะฯ

อนฺยทีเยน คนฺเธน กสฺมาทนฺยตฺร รชฺยเส๚๖๕๚

ยทิ สฺวภาวเทารฺคนฺธฺยาทฺราโค นาตฺร ศิวํ นนุฯ

กิมนรฺถรุจิโรฺลกสฺตํ คนฺเธนานุลิมฺปติ๚๖๖๚

กายสฺยาตฺร กิมายาตํ สุคนฺธิ ยทิ จนฺทนมฺฯ

อนฺยทีเยน คนฺเธน กสฺมาทนฺยตฺร รชฺยเต๚๖๗๚

ยทิ เกศนไขรฺทีรฺไฆรฺทนฺไตะ สมลปาณฺฑุไระฯ

มลปงฺกธโร นคฺนะ กายะ ปฺรกฤติภีษณะ๚๖๘๚

ส กิํ สํสฺกฺริยเต ยตฺนาทาตฺมฆาตาย ศสฺตฺรวตฺฯ

อาตฺมวฺยาโมหโนทฺยุกฺไตรุนฺมตฺไตรากุลา มหี๚๖๙๚

กงฺกาลานฺ กติจิทฺทฤษฺฏฺวา ศฺมศาเน กิล เต ฆฤณาฯ

คฺรามศฺมศาเน รมเส จลตฺกงฺกาลสํกุเล๚๗๐๚

เอวํ จาเมธฺยมปฺเยตทฺวินา มูลฺยํ น ลภฺยเตฯ

ตทรฺถมรฺชนายาโส นรกาทิษุ จ วฺยถา๚๗๑๚

ศิโศรฺนารฺชนสามรฺถฺยํ เกนาเสา เยาวเน สุขีฯ

ยาตฺยรฺชเนน ตารุณฺยํ วฤทฺธะ กาไมะ กโรติ กิมฺ๚๗๒๚

เกจิทฺทินานฺตวฺยาปาไระ ปริศฺรานฺตาะ กุกามินะฯ

คฤหมาคตฺย สายาหฺเน เศรเต สฺม มฤตา อิว๚๗๓๚

ทณฺฑยาตฺราภิรปเร ปฺรวาสเกฺลศทุะขิตาะฯ

วตฺสรไรปิ เนกฺษนฺเต ปุตฺรทารําสฺตทรฺถินะ๚๗๔๚

ยทรฺถเมว วิกฺรีต อาตฺมา กามวิโมหิไตะฯ

ตนฺน ปฺราปฺตํ มุไธวายุรฺนีตํ ตุ ปรกรฺมณา๚๗๕๚

วิกฺรีตสฺวาตฺมภาวานํา สทา เปฺรษณการิณามฺฯ

ปฺรสูยนฺเต สฺตฺริโย’นฺเยษามฏวีวิฏปาทิษุ๚๗๖๚

รณํ ชีวิตสํเทหํ วิศนฺติ กิล ชีวิตุมฺฯ

มานารฺถํ ทาสตํา ยานฺติ มูฒาะ กามวิฑมฺพิตาะ๚๗๗๚

ฉิทฺยนฺเต กามินะ เกจิทนฺเย ศูลสมรฺปิตาะฯ

ทฤศฺยนฺเต ทหฺยมานาศฺจ หนฺยมานาศฺจ ศกฺติภิะ๚๗๘๚

อรฺชนรกฺษณนาศวิษาไท-

รรฺถมนรฺถมนนฺตมเวหิฯ

วฺยคฺรตยา ธนสกฺตมตีนํา

นาวสโร ภวทุะขวิมุกฺเตะ๚๗๙๚

เอวมาทีนโว ภูยานลฺปาสฺวาทสฺตุ กามินามฺฯ

ศกฏํ วหโต ยทฺวตฺปโศรฺฆาสลวคฺรหะ๚๘๐๚

ตสฺยาสฺวาทลวสฺยารฺเถ ยะ ปโศรปฺยทุรฺลภะฯ

หตา ไทวหเตเนยํ กฺษณสํปตฺสุทุรฺลภา๚๘๑๚

อวศฺยํ คนฺตุรลฺปสฺย นรกาทิปฺรปาตินะฯ

กายสฺยารฺเถ กฤโต โย’ยํ สรฺวกาลํ ปริศฺรมะ๚๘๒๚

ตตะ โกฏิศเตนาปิ ศฺรมภาเคน พุทฺธตาฯ

จรฺยาทุะขานฺมหทฺทุะขํ สา จ โพธิรฺน กามินามฺ๚๘๓๚

น ศสฺตฺรํ น วิษํ นาคฺนิรฺน ปฺรปาโต น ไวริณะฯ

กามานามุปมํา ยานฺติ นรกาทิวฺยถาสฺมฤเตะ๚๘๔๚

เอวมุทฺวิชฺย กาเมภฺโย วิเวเก ชนเยทฺรติมฺฯ

กลหายาสศูนฺยาสุ ศานฺตาสุ วนภูมิษุ๚๘๕๚

ธนฺไยะ ศศางฺกกรจนฺทนศีตเลษุ

รมฺเยษุ หรฺมฺยวิปุเลษุ ศิลาตเลษุฯ

นิะศพฺทเสามฺยวนมารุตวีชฺยมาไนะ

จํกฺรมฺยเต ปรหิตาย วิจินฺตฺยเต จ๚๘๖๚

วิหฤตฺย ยตฺร กฺวจิทิษฺฏกาลํ

ศูนฺยาลเย วฤกฺษตเล คุหาสุฯ

ปริคฺรหรกฺษณเขทมุกฺตะ

จรตฺยเปกฺษาวิรโต ยเถษฺฏมฺ๚๘๗๚

สฺวจฺฉนฺทจารฺยนิลยะ ปฺรติพทฺโธ น กสฺยจิตฺฯ

ยตฺสํโตษสุขํ ภุงฺกฺเต ตทินฺทฺรสฺยาปิ ทุรฺลภมฺ๚๘๘๚

เอวมาทิภิรากาไรรฺวิเวกคุณภาวนาตฺฯ

อุปศานฺตวิตรฺกะ สนฺ โพธิจิตฺตํ ตุ ภาวเยตฺ๚๘๙๚

ปราตฺมสมตามาเทา ภาวเยเทวมาทราตฺฯ

สมทุะขสุขาะ สรฺเว ปาลนียา มยาตฺมวตฺ๚๙๐๚

หสฺตาทิเภเทน พหุปฺรการะ

กาโย ยไถกะ ปริปาลนียะฯ

ตถา ชคทฺภินฺนมภินฺนทุะข-

สุขาตฺมกํ สรฺวมิทํ ตไถว๚๙๑๚

ยทฺยปฺยนฺเยษุ เทเหษุ มทฺทุะขํ น ปฺรพาธเตฯ

ตถาปิ ตทฺทุะขเมว มมาตฺมสฺเนหทุะสหมฺ๚๙๒๚

ตถา ยทฺยปฺยสํเวทฺยมนฺยทฺทุะขํ มยาตฺมนาฯ

ตถาปิ ตสฺย ตทฺทุะขมาตฺมสฺเนเหน ทุะสหมฺ๚๙๓๚

มยานฺยทุะขํ หนฺตวฺยํ ทุะขตฺวาทาตฺมทุะขวตฺฯ

อนุคฺราหฺยา มยานฺเย’ปิ สตฺตฺวตฺวาทาตฺมสตฺตฺววตฺ๚๙๔๚

ยทา มม ปเรษํา จ ตุลฺยเมว สุขํ ปฺริยมฺฯ

ตทาตฺมนะ โก วิเศโษ เยนาไตฺรว สุโขทฺยมะ๚๙๕๚

ยทา มม ปเรษํา จ ภยํ ทุะขํ จ น ปฺริยมฺฯ

ตทาตฺมนะ โก วิเศโษ ยตฺตํ รกฺษามิ เนตรมฺ๚๙๖๚

ตทฺทุะเขน น เม พาเธตฺยโต ยทิ น รกฺษฺยเตฯ

นาคามิกายทุะขานฺเม พาธา ตตฺเกน รกฺษฺยเต๚๙๗๚

อหเมว ตทาปีติ มิถฺเยยํ ปริกลฺปนาฯ

อนฺย เอว มฤโต ยสฺมาทนฺย เอว ปฺรชายเต๚๙๘๚

ยทิ ตสฺไยว ยทฺทุะขํ รกฺษฺยํ ตสฺไยว ตนฺมตมฺฯ

ปาททุะขํ น หสฺตสฺย กสฺมาตฺตตฺเตน รกฺษฺยเต๚๙๙๚

อยุกฺตมปิ เจเทตทหํการาตฺปฺรวรฺตเตฯ

ตทยุกฺตํ นิวรฺตฺยํ ตตฺสฺวมนฺยจฺจ ยถาพลมฺ๚๑๐๐๚

สํตานะ สมุทายศฺจ ปงฺกฺติเสนาทิวนฺมฤษาฯ

ยสฺย ทุะขํ ส นาสฺตฺยสฺมาตฺกสฺย ตตฺสฺวํ ภวิษฺยติ๚๑๐๑๚

อสฺวามิกานิ ทุะขานิ สรฺวาณฺเยวาวิเศษตะฯ

ทุะขตฺวาเทว วารฺยาณิ นิยมสฺตตฺร กิํกฤตะ๚๑๐๒๚

ทุะขํ กสฺมานฺนิวารฺยํ เจตฺสรฺเวษามวิวาทตะฯ

วารฺยํ เจตฺสรฺวมปฺเยวํ น เจทาตฺมาปิ สตฺตฺววตฺ๚๑๐๓๚

กฤปยา พหุ ทุะขํ เจตฺกสฺมาทุตฺปทฺยเต พลาตฺฯ

ชคทฺทุะขํ นิรูปฺเยทํ กฤปาทุะขํ กถํ พหุ๚๑๐๔๚

พหูนาเมกทุะเขน ยทิ ทุะขํ วิคจฺฉติฯ

อุตฺปาทฺยเมว ตทฺทุะขํ สทเยน ปราตฺมโนะ๚๑๐๕๚

อตะ สุปุษฺปจนฺเทฺรณ ชานตาปิ นฤปาปทมฺฯ

อาตฺมทุะขํ น นิหตํ พหูนํา ทุะขินํา วฺยยาตฺ๚๑๐๖๚

เอวํ ภาวิตสํตานาะ ปรทุะขสมปฺริยาะฯ

อวีจิมวคาหนฺเต หํสาะ ปทฺมวนํ ยถา๚๑๐๗๚

มุจฺยมาเนษุ สตฺตฺเวษุ เย เต ปฺราโมทฺยสาคราะฯ

ไตเรว นนุ ปรฺยาปฺตํ โมเกฺษณารสิเกน กิมฺ๚๑๐๘๚

อตะ ปรารฺถํ กฤตฺวาปิ น มโท น จ วิสฺมยะฯ

น วิปากผลากางฺกฺษา ปรารฺไถกานฺตตฤษฺณยา๚๑๐๙๚

ตสฺมาทฺยถานฺตโศ’วรฺณาทาตฺมานํ โคปยามฺยหมฺฯ

รกฺษาจิตฺตํ ทยาจิตฺตํ กโรมฺเยวํ ปเรษฺวปิ๚๑๑๐๚

อภฺยาสาทนฺยทีเยษุ ศุกฺรโศณิตพินฺทุษุฯ

ภวตฺยหมิติ ชฺญานมสตฺยปิ หิ วสฺตุนิ๚๑๑๑๚

ตถา กาโย’นฺยทีโย’ปิ กิมาตฺเมติ น คฤหฺยเตฯ

ปรตฺวํ ตุ สฺวกายสฺย สฺถิตเมว น ทุษฺกรมฺ๚๑๑๒๚

ชฺญาตฺวา สโทษมาตฺมานํ ปรานปิ คุโณทธีนฺฯ

อาตฺมภาวปริตฺยาคํ ปราทานํ จ ภาวเยตฺ๚๑๑๓๚

กายสฺยาวยวตฺเวน ยถาภีษฺฏาะ กราทยะฯ

ชคโต’วยวตฺเวน ตถา กสฺมานฺน เทหินะ๚๑๑๔๚

ยถาตฺมพุทฺธิรภฺยาสาตฺสฺวกาเย’สฺมินฺนิราตฺมเกฯ

ปเรษฺวปิ ตถาตฺมตฺวํ กิมภฺยาสานฺน ชายเต๚๑๑๕๚

เอวํ ปรารฺถํ กฤตฺวาปิ น มโท น จ วิสฺมยะฯ

อาตฺมานํ โภชยิตฺไวว ผลาศา น จ ชายเต๚๑๑๖๚

ตสฺมาทฺยถารฺติโศกาเทราตฺมานํ โคปฺตุมิจฺฉสิฯ

รกฺษาจิตฺตํ ทยาจิตฺตํ ชคตฺยภฺยสฺยตํา ตถา๚๑๑๗๚

อธฺยติษฺฐทโต นาถะ สฺวนามาปฺยวโลกิตะฯ

ปรฺษจฺฉารทฺยภยมปฺยปเนตุํ ชนสฺย หิ๚๑๑๘๚

ทุษฺกรานฺน นิวรฺเตต ยสฺมาทภฺยาสศกฺติตะฯ

ยสฺไยว ศฺรวณาตฺราสสฺเตไนว น วินา รติะ๚๑๑๙๚

อาตฺมานํ จาปรําศฺไจว ยะ ศีฆฺรํ ตฺราตุมิจฺฉติฯ

ส จเรตฺปรมํ คุหฺยํ ปราตฺมปริวรฺตนมฺ๚๑๒๐๚

ยสฺมินฺนาตฺมนฺยติสฺเนหาทลฺปาทปิ ภยาทฺภยมฺฯ

น ทฺวิเษตฺกสฺตมาตฺมานํ ศตฺรุวโธ ภยาวหะ๚๑๒๑๚

โย มานฺทฺยกฺษุตฺปิปาสาทิปฺรตีการจิกีรฺษยาฯ

ปกฺษิมตฺสฺยมฤคานฺ หนฺติ ปริปนฺถํ จ ติษฺฐติ๚๑๒๒๚

โย ลาภสตฺกฺริยาเหโตะ ปิตราวปิ มารเยตฺฯ

รตฺนตฺรยสฺวมาททฺยาทฺเยนาวีจีนฺธโน ภเวตฺ๚๑๒๓๚

กะ ปณฺฑิตสฺตมาตฺมานมิจฺเฉทฺรเกฺษตฺปฺรปูชเยตฺ๚

น ปศฺเยจฺฉตฺรุวจฺไจนํ กศฺไจนํ ปฺรติมานเยตฺ๚๑๒๔๚

ยทิ ทาสฺยามิ กิํ โภกฺษฺเย อิตฺยาตฺมารฺเถ ปิศาจตาฯ

ยทิ โภกฺษฺเย กิํ ททามีติ ปรารฺเถ เทวราชตา๚๑๒๕๚

อาตฺมารฺถํ ปีฑยิตฺวานฺยํ นรกาทิษุ ปจฺยเตฯ

อาตฺมานํ ปีฑยิตฺวา ตุ ปรารฺถํ สรฺวสํปทะ๚๑๒๖๚

ทุรฺคติรฺนีจตา เมารฺขฺยํ ยไยวาตฺโมนฺนตีจฺฉยาฯ

ตาเมวานฺยตฺร สํกฺรามฺย สุคติะ สตฺกฤติรฺมติะ๚๑๒๗๚

อาตฺมารฺถํ ปรมาชฺญปฺย ทาสตฺวาทฺยนุภูยเตฯ

ปรารฺถํ ตฺเวนมาชฺญปฺย สฺวามิตฺวาทฺยนุภูยเต๚๑๒๘๚

เย เกจิทฺทุะขิตา โลเก สรฺเว เต สฺวสุเขจฺฉยาฯ

เย เกจิตฺสุขิตา โลเก สรฺเว เต’นฺยสุเขจฺฉยา๚๑๒๙๚

พหุนา วา กิมุกฺเตน ทฤศฺยตามิทมนฺตรมฺฯ

สฺวารฺถารฺถินศฺจ พาลสฺย มุเนศฺจานฺยารฺถการิณะ๚๑๓๐๚

น นาม สาธฺยํ พุทฺธตฺวํ สํสาเร’ปิ กุตะ สุขมฺฯ

สฺวสุขสฺยานฺยทุะเขน ปริวรฺตมกุรฺวตะ๚๑๓๑๚

อาสฺตํา ตาวตฺปโร โลเก ทฤษฺโฏ’ปฺยรฺโถ น สิธฺยติฯ

ภฤตฺยสฺยากุรฺวตะ กรฺม สฺวามิโน’ททโต ภฤติมฺ๚๑๓๒๚

ตฺยกฺตฺวานฺโยนฺยสุโขตฺปาทํ ทฤษฺฏาทฤษฺฏสุโขตฺสวมฺฯ

อนฺโยนฺยทุะขนาทฺ โฆรํ ทุะขํ คฤหฺณนฺติ โมหิตาะ๚๑๓๓๚

อุปทฺรวา เย จ ภวนฺติ โลเก

ยาวนฺติ ทุะขานิ ภยานิ ไจวฯ

สรฺวาณิ ตานฺยาตฺมปริคฺรเหณ

ตตฺกิํ มมาเนน ปริคฺรเหณ๚๑๓๔๚

อาตฺมานมปริตฺยชฺย ทุะขํ ตฺยกฺตุํ น ศกฺยเตฯ

ยถาคฺนิมปริตฺยชฺย ทาหํ ตฺยกฺตุํ น ศกฺยเต๚๑๓๕๚

ตสฺมาตฺสฺวทุะขศานฺตฺยรฺถํ ปรทุะขศมาย จฯ

ททามฺยนฺเยภฺย อาตฺมานํ ปรานฺ คฤหฺณามิ จาตฺมวตฺ๚๑๓๖๚

อนฺยสํพทฺธมสฺมีติ นิศฺจยํ กุรุ เห มนะฯ

สรฺวสตฺตฺวารฺถมุตฺสฤชฺย นานฺยจฺจินฺตฺยํ ตฺวยาธุนา๚๑๓๗๚

น ยุกฺตํ สฺวารฺถทฤษฺฏฺยาทิ ตทีไยศฺจกฺษุราทิภิะฯ

น ยุกฺตํ สฺยนฺทิตุํ สฺวารฺถมนฺยทีไยะ กราทิภิะ๚๑๓๘๚

เตน สตฺตฺวปโร ภูตฺวา กาเย’สฺมินฺ ยทฺยทีกฺษเสฯ

ตตฺตเทวาปหตฺยาสฺมาตฺ ปเรภฺโย หิตมาจร๚๑๓๙๚

หีนาทิษฺวาตฺมตํา กฤตฺวา ปรตฺวมปิ จาตฺมนิฯ

ภาวเยรฺษฺยํา จ มานํ จ นิรฺวิกลฺเปน เจตสา๚๑๔๐๚

เอษ สตฺกฺริยเต นาหํ ลาภี นาหมยํ ยถาฯ

สฺตูยเต’หมหํ นินฺทฺโย ทุะขิโต’หมยํ สุขี๚๑๔๑๚

อหํ กโรมิ กรฺมาณิ ติษฺฐตฺเยษ ตุ สุสฺถิตะฯ

อยํ กิล มหําโลฺลเก นีโจ’หํ กิล นิรฺคุณะ๚๑๔๒๚

กิํ นิรฺคุเณน กรฺตวฺยํ สรฺวสฺยาตฺมา คุณานฺวิตะฯ

สนฺติ เต เยษฺวหํ นีจะ สนฺติ เต เยษฺวหํ วระ๚๑๔๓๚

ศีลทฤษฺฏิวิปตฺตฺยาทิเกฺลศศกฺตฺยา น มทฺวศาตฺฯ

จิกิตฺสฺโย’หํ ยถาศกฺติ ปีฑาปฺยงฺคีกฤตา มยา๚๑๔๔๚

อถาหมจิกิตฺสฺโย’สฺย กสฺมานฺมามวมนฺยเสฯ

กิํ มไมตทฺคุไณะ กฤตฺยมาตฺมา ตุ คุณวานยมฺ๚๑๔๕๚

ทุรฺคติวฺยาลพกฺตฺรสฺเถไนวาสฺย กรุณา ชเนฯ

อปรํ คุณมาเนน ปณฺฑิตานฺ วิชิคีษเต๚๑๔๖๚

สมมาตฺมานมาโลกฺย ยตะ สฺวาธิกฺยวฤทฺธเยฯ

กลเหนาปิ สํสาธฺยํ ลาภสตฺการมาตฺมนะ๚๑๔๗๚

อปิ สรฺวตฺร เม โลเก ภเวยุะ ปฺรกฏา คุณาะฯ

อปิ นาม คุณา เย’สฺย น โศฺรษฺยนฺตฺยปิ เกจน๚๑๔๘๚

ฉาทฺเยรนฺนปิ เม โทษาะ สฺยานฺเม ปูชาสฺย โน ภเวตฺฯ

สุลพฺธา อทฺย เม ลาภาะ ปูชิโต’หมยํ น ตุ๚๑๔๙๚

ปศฺยาโม มุทิตาสฺตาวจฺจิราเทนํ ขลีกฤตมฺฯ

หาสฺยํ ชนสฺย สรฺวสฺย นินฺทฺยมานมิตสฺตตะ๚๑๕๐๚

อสฺยาปิ หิ วรากสฺย สฺปรฺธา กิล มยา สหฯ

กิมสฺย ศฺรุตเมตาวตฺ ปฺรชฺญา รูปํ กุลํ ธนมฺ๚๑๕๑๚

เอวมาตฺมคุณานฺ ศฺรุตฺวา กีรฺตฺยมานานิตสฺตตะฯ

สํชาตปุลโก หฤษฺฏะ ปริโภกฺษฺเย สุโขตฺสวมฺ๚๑๕๒๚

ยทฺยปฺยสฺย ภเวลฺลาโภ คฺราหฺโย’สฺมาภิรเสา พลาตฺฯ

ทตฺวาสฺไม ยาปนามาตฺรมสฺมตฺกรฺม กโรติ เจตฺ๚๑๕๓๚

สุขาจฺจ จฺยาวนีโย’ยํ โยชฺโย’สฺมทฺวฺยถยา สทาฯ

อเนน ศตศะ สรฺเว สํสารวฺยถิตา วยมฺ๚๑๕๔๚

อปฺรเมยา คตาะ กลฺปาะ สฺวารฺถํ ชิชฺญาสตสฺตวฯ

ศฺรเมณ มหตาเนน ทุะขเมว ตฺวยารฺชิตมฺ๚๑๕๕๚

มทฺวิชฺญปฺตฺยา ตถาตฺราปิ ปฺรวรฺตสฺวาวิจารตะฯ

ทฺรกฺษฺยสฺเยตทฺคุณานฺ ปศฺจาทฺภูตํ หิ วจนํ มุเนะ๚๑๕๖๚

อภวิษฺยทิทํ กรฺม กฤตํ ปูรฺวํ ยทิ ตฺวยาฯ

เพาทฺธํ สํปตฺสุขํ มุกฺตฺวา นาภวิษฺยทิยํ ทศา๚๑๕๗๚

ตสฺมาทฺยถานฺยทีเยษุ ศุกฺรโศณิตพินฺทุษุฯ

จกรฺถ ตฺวมหํการํ ตถานฺเยษฺวปิ ภาวย๚๑๕๘๚

อนฺยทียศฺจโร ภูตฺวา กาเย’สฺมินฺ ยทฺยทีกฺษเสฯ

ตตฺตเทวาปหฤตฺยรฺถํ ปเรภฺโย หิตมาจร๚๑๕๙๚

อยํ สุสฺถะ ปโร ทุะสฺโถ นีไจรนฺโย’ยมุจฺจไกะฯ

ประ กโรตฺยยํ เนติ กุรุษฺเวรฺษฺยํา ตฺวมาตฺมนิ๚๑๖๐๚

สุขาจฺจ จฺยาวยาตฺมานํ ปรทุะเข นิโยชยฯ

กทายํ กิํ กโรตีติ ฉล(ผล)มสฺย นิรูปย๚๑๖๑๚

อนฺเยนาปิ กฤตํ โทษํ ปาตยาสฺไยว มสฺตเกฯ

อลฺปมปฺยสฺย โทษํ จ ปฺรกาศย มหามุเนะ๚๑๖๒๚

อนฺยาธิกยโศวาไทรฺยโศ’สฺย มลินีกุรุฯ

นิกฤษฺฏทาสวจฺไจนํ สตฺตฺวการฺเยษุ วาหย๚๑๖๓๚

นาคนฺตุกคุณําเศน สฺตุตฺโย โทษมโย หฺยยมฺฯ

ยถา กศฺจินฺน ชานียาทฺคุณมสฺย ตถา กุรุ๚๑๖๔๚

สํเกฺษปาทฺยทฺยทาตฺมารฺเถ ปเรษฺวปกฤตํ ตฺวยาฯ

ตตฺตทาตฺมนิ สตฺตฺวารฺเถ วฺยสนํ วินิปาตย๚๑๖๕๚

ไนโวตฺสาโห’สฺย ทาตวฺโย เยนายํ มุขโร ภเวตฺฯ

สฺถาปฺโย นววธูวฤตฺเตา หฺรีโต ภีโต’ถ สํวฤตะ๚๑๖๖๚

เอวํ กุรุษฺว ติษฺไฐวํ น กรฺตวฺยมิทํ ตฺวยาฯ

เอวเมว วศะ การฺโย นิคฺราหฺยสฺตทติกฺรเม๚๑๖๗๚

อไถวมุจฺยมาเน’ปิ จิตฺต เนทํ กริษฺยสิฯ

ตฺวาเมว นิคฺรหีษฺยามิ สรฺวโทษาสฺตฺวทาศฺริตาะ๚๑๖๘๚

กฺว ยาสฺยสิ มยา ทฤษฺฏะ สรฺวทรฺปานฺนิหนฺมิ เตฯ

อนฺโย’เสา ปูรฺวกะ กาลสฺตฺวยา ยตฺราสฺมิ นาศิตะ๚๑๖๙๚

อทฺยาปฺยสฺติ มม สฺวารฺถ อิตฺยาศํา ตฺยช สําปฺรตมฺฯ

ตฺวํ วิกฺรีโต มยานฺเยษุ พหุเขทมจินฺตยนฺ๚๑๗๐๚

ตฺวํา สตฺตฺเวษุ น ทาสฺยามิ ยทิ นาม ปฺรโมทตะฯ

ตฺวํ มํา นรกปาเลษุ ปฺรทาสฺยสิ น สํศยะ๚๑๗๑๚

เอวํ จาเนกธา ทตฺวา ตฺวยาหํ วฺยถิตศฺจิรมฺฯ

นิหนฺมิ สฺวารฺถเจฏํ ตฺวํา ตานิ ไวราณฺยนุสฺมรนฺ๚๑๗๒๚

น กรฺตวฺยาตฺมนิ ปฺรีติรฺยทฺยาตฺมปฺรีติรสฺติ เตฯ

ยทฺยาตฺมา รกฺษิตวฺโย’ยํ รกฺษิตวฺโย น ยุชฺยเต๚๑๗๓๚

ยถา ยถาสฺย กายสฺย กฺริยเต ปริปาลนมฺฯ

สุกุมารตโร ภูตฺวา ปตตฺเยว ตถา ตถา๚๑๗๔๚

อสฺไยวํ ปติตสฺยาปิ สรฺวาปียํ วสุํธราฯ

นาลํ ปูรยิตุํ วาญฺฉํา ตตฺโก’สฺเยจฺฉํา กริษฺยติ๚๑๗๕๚

อศกฺยมิจฺฉตะ เกฺลศ อาศาภงฺคศฺจ ชายเตฯ

นิราโศ ยสฺตุ สรฺวตฺร ตสฺย สํปทชีรฺณิกา๚๑๗๖๚

ตสฺมานฺน ปฺรสโร เทยะ กายสฺเยจฺฉาภิวฤทฺธเยฯ

ภทฺรกํ นาม ตทฺวสฺตุ ยทิษฺฏตฺวานฺน คฤหฺยเต๚๑๗๗๚

ภสฺมนิษฺฐาวสาเนยํ นิศฺเจษฺฏานฺเยน จาลฺยเตฯ

อศุจิปฺรติมา โฆรา กสฺมาทตฺร มมาคฺรหะ๚๑๗๘๚

กิํ มมาเนน ยนฺเตฺรณ ชีวินา วา มฤเตน วาฯ

โลษฺฏาเทะ โก วิเศโษ’สฺย หาหํการํ น นศฺยสิ๚๑๗๙๚

ศรีรปกฺษปาเตน วฤถา ทุะขมุปารฺชฺยเตฯ

กิมสฺย กาษฺฐตุลฺยสฺย ทฺเวเษณานุนเยน วา๚๑๘๐๚

มยา วา ปาลิตสฺไยวํ คฤธฺราทฺไยรฺภกฺษิตสฺย วาฯ

น จ สฺเนโห น จ ทฺเวษสฺตตฺร สฺเนหํ กโรมิ กิมฺ๚๑๘๑๚

โรโษ ยสฺย ขลีการาตฺโตโษ ยสฺย จ ปูชยาฯ

ส เอว เจนฺน ชานาติ ศฺรมะ กสฺย กฤเตน เม๚๑๘๒๚

อิมํ เย กายมิจฺฉนฺติ เต’ปิ เม สุหฤทะ กิลฯ

สรฺเว สฺวกายมิจฺฉนฺติ เต’ปิ กสฺมานฺน เม ปฺริยาะ๚๑๘๓๚

ตสฺมานฺมยานเปเกฺษณ กายสฺตฺยกฺโต ชคทฺธิเตฯ

อโต’ยํ พหุโทโษ’ปิ ธารฺยเต กรฺมภาณฺฑวตฺ๚๑๘๔๚

เตนาลํ โลกจริไตะ ปณฺฑิตานนุยามฺยหมฺฯ

อปฺรมาทกถํา สฺมฤตฺวา สฺตฺยานมิทฺธํ นิวารยนฺ๚๑๘๕๚

ตสฺมาทาวรณํ หนฺตุํ สมาธานํ กโรมฺยหมฺฯ

วิมารฺคาจฺจิตฺตมากฤษฺย สฺวาลมฺพนนิรนฺตรมฺ๚๑๘๖๚

โพธิจรฺยาวตาเร ธฺยานปารมิตา นาม อษฺฏมะ ปริจฺเฉทะฯ

ปริวรรตเป็นไทยปรับรูป(สำหรับบุคคลทั่วไป)

๘ ธยานะปาระมิตา นามะ อัษฏะมะห์ ปะริจเฉทะห์ฯ

วรรธะยิตไววะมุตสาหัม สะมาเธา สถาปะเยนมะนะห์ฯ

วิกษิปตะจิตตัสตุ นะระห์ เกลศะทัมษฏรานตะเร สถิตะห์๚๑๚

กายะจิตตะวิเวเกนะ วิกเษปัสยะ นะ สัมภะวะห์ฯ

ตัสมาโลลกัม ปะริตยัชยะ วิตรรกาน ปะริวรรชะเยต๚๒๚

สเนหานนะ ตยัชยะเต โลโก ลาภาทิษุ จะ ตฤษณะยาฯ

ตัสมาเทตัตปะริตยาเค วิทวาเนวัม วิภาวะเยต๚๓๚

ศะมะเถนะ วิปัศยะนาสุยุกตะห์

กุรุเต เกลศะวินาศะมิตยะเวตยะฯ

ศะมะถะห์ ประถะมัม คะเวษะณียะห์

สะ จะ โลเก นิระเปกษะยาภิรัตยา๚๔๚

กัสยานิตเยษวะนิตยัสยะ สเนโห ภะวิตุมรรหะติฯ

เยนะ ชันมะสะหะสราณิ ทรัษฏะวโย นะ ปุนะห์ ปริยะห์๚๕๚

อะปัศยันนะระติม ยาติ สะมาเธา นะ จะ ติษฐะติฯ

นะ จะ ตฤปยะติ ทฤษฏวาปิ ปูรวะวัทพาธยะเต ตฤษา๚๖๚

นะ ปัศยะติ ยะถาภูตัม สัมเวคาทะวะหียะเตฯ

ทหยะเต เตนะ โศเกนะ ปริยะสังคะมะกางกษะยา๚๗๚

ตัจจินตะยา มุธา ยาติ หรัสวะมายุรมุหุรมุหุห์ฯ

อะศาศวะเตนะ ธรรเมณะ ธรรโม ภรัศยะติ ศาศวะตะห์๚๘๚

พาไลห์ สะภาคะจะริโต นิยะตัม ยาติ ทุรคะติมฯ

เนษยะเต วิษะภาคัศจะ กิม ปราปตัม พาละสังคะมาต๚๙๚

กษะณาทภะวันติ สุหฤโท ภะวันติ ริปะวะห์ กษะณาตฯ

โตษัสถาเน ประกุปยันติ ทุราราธาห์ ปฤถัคชะนาห์๚๑๐๚

หิตะมุกตาห์ ประกุปยันติ วาระยันติ จะ มาม หิตาตฯ

อะถะ นะ ศรูยะเต เตษาม กุปิตา ยานติ ทุรคะติม๚๑๑๚

อีรษโยตกฤษฏาตสะมาททวันทโว หีนานมานะห์ สตุเตรมะทะห์ฯ

อะวรรณาตประติฆัศเจติ กะทา พาลาทธิตัม ภะเวต๚๑๒๚

อาตโมตกรรษะห์ ปะราวรรณะห์ สัมสาระระติสังกะถาฯ

อิตยาทยะวัศยะมะศุภัม กิญจิทพาลัสยะ พาละตะห์๚๑๓๚

เอวัม ตัสยาปิ ตัตสังคาตเตนานรรถะสะมาคะมะห์ฯ

เอกากี วิหะริษยามิ สุขะมักลิษฏะมานะสะห์๚๑๔๚

พาลาททูรัม ปะลาเยตะ ปราปตะมาราธะเยตปริไยห์ฯ

นะ สัมสตะวานุพันเธนะ กิม ตูทาสีนะสาธุวัต๚๑๕๚

ธรรมารถะมาตระมาทายะ ภฤงคะวัต กุสุมานมะธุฯ

อะปูรวะ อิวะ สรรวะตระ วิหะริษยามยะสัมสตุตะห์๚๑๖๚

ลาภี จะ สัตกฤตัศจาหะมิจฉันติ พะหะวัศจะ มามฯ

อิติ มรรตยัสยะ สัมปราปตานมะระณาชชายะเต ภะยัม๚๑๗๚

ยะตระ ยะตระ ระติม ยาติ มะนะห์ สุขะวิโมหิตัมฯ

ตัตตัตสะหะสระคุณิตัม ทุห์ขัม ภูตโวปะติษฐะติ๚๑๘๚

ตัสมาตปราชโญ นะ ตามิจเฉทิจฉาโต ชายะเต ภะยัมฯ

สวะยะเมวะ จะ ยาตเยตัทไธรยัม กฤตวา ประตีกษะตาม๚๑๙๚

พะหะโว ลาภิโนภูวัน พะหะวัศจะ ยะศัสวินะห์ฯ

สะหะ ลาภะยะโศภิสเต นะ ชญาตาห์ กวะ คะตา อิติ๚๒๐๚

มาเมวานเย ชุคุปสันติ กิม ประหฤษยามยะหัม สตุตะห์ฯ

มาเมวานเย ประศัมสันติ กิม วิษีทามิ นินทิตะห์๚๒๑๚

นานาธิมุกติกาห์ สัตตวา ชิไนระปิ นะ โตษิตาห์ฯ

กิม ปุนรรมาทฤไศรัชไญสตัสมาตกิม โลกะจินตะยา๚๒๒๚

นินทันตยะลาภินัม สัตตวะมะวัธยายันติ ลาภินัมฯ

ประกฤตยา ทุห์ขะสัมวาไสห์ กะถัม ไตรชายะเต ระติห์๚๒๓๚

นะ พาละห์ กัสยะจินมิตระมิติ โจกตัม ตะถาคะไตห์ฯ

นะ สวารเถนะ วินา ปรีติรยัสมาทพาลัสยะ ชายะเต๚๒๔๚

สวารถัทวาเรณะ ยา ปรีติราตมารถัม ปรีติเรวะ สาฯ

ทระวยะนาเศ ยะโถทเวคะห์ สุขะหานิกฤโต หิ สะห์๚๒๕๚

นาวัธยายันติ ตะระโว นะ จาราธยาห์ ประยัตนะตะห์

กะทา ไตห์ สุขะสัมวาไสห์ สะหะ วาโส ภะเวนมะมะ๚๒๖๚

ศูนยะเทวะกุเล สถิตวา วฤกษะมูเล คุหาสุ วาฯ

กะทานะเปกโษ ยาสยามิ ปฤษฐะโตนะวะโลกะยัน๚๒๗๚

อะมะเมษุ ประเทเศษุ วิสตีรเณษุ สวะภาวะตะห์ฯ

สวัจฉันทะจารยะนิละโย วิหะริษยามยะหัม กะทา๚๒๘๚

มฤตปาตระมาตระวิภะวัศเจาราสัมโภคะจีวะระห์ฯ

นิรภะโย วิหะริษยามิ กะทา กายะมะโคปะยัน๚๒๙๚

กายะภูมิม นิชาม คัตวา กังกาไลระปะไรห์ สะหะฯ

สวะกายัม ตุละยิษยามิ กะทา ศะตะนะธรรมิณัม๚๓๐๚

อะยะเมวะ หิ กาโย เม เอวัม ปูติรภะวิษยะติฯ

ศฤคาลา อะปิ ยัทคันธานโนปะสรรเปยุรันติกัม๚๓๑๚

อัสไยกัสยาปิ กายัสยะ สะหะชา อัสถิขัณฑะกาห์ฯ

ปฤถัก ปฤถัคคะมิษยันติ กิมุตานยะห์ ปริโย ชะนะห์๚๓๒๚

เอกะ อุตปัทยะเต ชันตุรมริยะเต ไจกะ เอวะ หิฯ

นานยัสยะ ตัทวยะถาภาคะห์ กิม ปริไยรวิฆนะการะไกห์๚๓๓๚

อัธวานัม ประติปันนัสยะ ยะถาวาสะปะริคระหะห์ฯ

ตะถา ภะวาธวะคัสยาปิ ชันมาวาสะปะริคระหะห์๚๓๔๚

จะตุรภิห์ ปุรุไษรยาวัตสะ นะ นิรธารยะเต ตะตะห์ฯ

อาโศจยะมาโน โลเกนะ ตาวะเทวะ วะนัม วระเชต๚๓๕๚

อะสัมสตะวาวิโรธาภยาเมกะ เอวะ ศะรีระกะห์ฯ

ปุรวะเมวะ มฤโต โลเก มริยะมาโณ นะ โศจะติ๚๓๖๚

นะ จานติกะจะราห์ เกจิจโฉจันตะห์ กุรวะเต วยะถามฯ

พุทธาทยะนุสมฤติม จาสยะ วิกษิปันติ นะ เกจะนะ๚๓๗๚

ตัสมาเทกากิตา รัมยา นิรายาสา ศิโวทะยาฯ

สรรวะวิกเษปะศะมะนี เสวิตะวยา มะยา สะทา๚๓๘๚

สรรวานยะจินตานิรมุกตะห์ สวะจิตไตกาคระมานะสะห์ฯ

สะมาธานายะ จิตตัสยะ ประยะติษเย ทะมายะ จะ๚๓๙๚

กามา หยะนรรถะชะนะกา อิหะ โลเก ปะระตระ จะฯ

อิหะ พันธะวะโธจเฉไทรนะระกาเทา ปะระตระ จะ๚๔๐๚

ยะทรรถัม ทูตะทูตีนาม กฤตาญชะลิระเนกะธาฯ

นะ จะ ปาปะมะกีรติรวา ยะทรรถัม คะณิตา ปุรา๚๔๑๚

ปรักษิปตัศจะ ภะเยปยาตมา ทระวิณัม จะ วยะยีกฤตัมฯ

ยานเยวะ จะ ปะริษวัชยะ พะภูโวตตะมะนิรวฤติห์๚๔๒๚

ตานเยวาสถีนิ นานยานิ สวาธีนานยะมะมานิ จะฯ

ประกามัม สัมปะริษวัชยะ กิม นะ คัจฉะสิ นิรวฤติม๚๔๓๚

อุนนามยะมานัม ยัตนาทยันนียะมานะมะโธ หริยาฯ

ปุรา ทฤษฏะมะทฤษฏัม วา มุขัม ชาลิกะยาวฤตัม๚๔๔๚

ตันมุขัม ตวัตปะริเกลศะมะสะหัทภิริวาธุนาฯ

คฤไธรรวยักตีกฤตัม ปัศยะ กิมิทานีม ปะลายะเส๚๔๕๚

ปะระจักษุรนิปาเตภโยปยาสีทยัตปะริรักษิตัมฯ

ตะทัทยะ ภักษิตัม ยาวัต กิมีรษยาโล นะ รักษะสิ๚๔๖๚

มามโสจฉระยะมิมัม ทฤษฏวา คฤไธรรันไยศจะ ภักษิตัมฯ

อาหาระห์ ปูชยะเตนเยษาม สรักจันทะนะวิภูษะไณห์๚๔๗๚

นิศจะลาทะปิ เต ตราสะห์ กังกาลาเทวะมีกษิตาตฯ

เวตาเลเนวะ เกนาปิ จาลยะมานาทภะยัม นะ กิม๚๔๘๚

เอกัสมาทะศะนาเทษาม ลาลาเมธยัม จะ ชายะเตฯ

ตะตราเมธยะมะนิษฏัม เต ลาลาปานัม กะถัม ปริยัม๚๔๙๚

ตูละครรไภรมฤทุสปรรไศ ระมันเต โนปะธานะไกห์ฯ

ทุรคันธัม นะ สระวันตีติ กามิโนเมธยะโมหิตาห์๚๕๐๚

ยะตระ จฉันเนปยะยัม ราคัสตะทัจฉันนัม กิมะปริยัมฯ

นะ เจตประโยชะนัม เตนะ กัสมาจฉันนัม วิมฤทยะเต๚๕๑๚

ยะทิ เต นาศุเจา ราคะห์ กัสมาทาลิงคะเสปะรัมฯ

มามสะกรรทะมะสัมลิปตัม สนายุพัทธาสถิปัญชะรัม๚๕๒๚

สวะเมวะ พหวะเมธยัม เต เตไนวะ ธฤติมาจะระฯ

อะเมธยะภัสตรามะปะราม คูถะฆัสมะระ วิสมะระ๚๕๓๚

มามสะปริโยหะมัสเยติ ทรัษฏุม สปรัษฏุม จะ วาญฉะสิฯ

อะเจตะนัม สวะภาเวนะ มามสัม ตวัม กะถะมิจฉะสิ๚๕๔๚

ยะทิจฉะสิ นะ ตัจจิตตัม ทรัษฏุม สปรัษฏุม จะ ศักยะเตฯ

ยัจจะ ศักยัม นะ ตัทเวตติ กิม ตะทาลิงคะเส มุธา๚๕๕๚

นาเมธยะมะยะมันยัสยะ กายัม เวตสีตยะนัทภุตัมฯ

สวาเมธยะมะยะเมวะ ตวัม ตัม นาไวษีติ วิสมะยะห์๚๕๖๚

วิฆะนารกามศุวิกะจัม มุกตวา ตะรุณะปังกะชัมฯ

อะเมธยะเศาณฑะจิตตัสยะ กา ระติรคูถะปัญชะเร๚๕๗๚

มฤทาทยะเมธยะลิปตัตวาทยะทิ นะ สปรัษฏุมิจฉะสิฯ

ยะตัสตันนิรคะตัม กายาตตัม สปรัษฏุม กะถะมิจฉะสิ๚๕๘๚

ยะทิ เต นาศุเจา ราคะห์ กัสมาทาลิงคะเส ปะรัมฯ

อะเมธยักเษตระสัมภูตัม ตัทพีชัม เตนะ วรรธิตัม๚๕๙๚

อะเมธยะภะวะมัลปัตวานนะ วาญฉัสยะศุจิม กฤมิมฯ

พหวะเมธยะมะยัม กายะมะเมธยะชะมะปีจฉะสิ๚๖๐๚

นะ เกวะละมะเมธยัตวะมาตมียัม นะ ชุคุปสะสิฯ

อะเมธยะภาณฑานะปะราน คูถะฆัสมะระ วาญฉะสิ๚๖๑๚

กรรปูราทิษุ หฤทเยษุ ศาลยันนะวยัญชะเนษุ วาฯ

มุขักษิปตะวิสฤษเฏษุ ภูมิรัปยะศุจิรมะตา๚๖๒๚

ยะทิ ปรัตยักษะมัปเยตะทะเมธยัม นาธิมุจยะเสฯ

ศมะศาเน ปะติตาน โฆราน กายาน ปัศยาปะรานะปิ๚๖๓๚

จรรมัณยุตปาฏิเต ยัสมาทภะยะมุตปัทยะเต มะหัตฯ

กะถัม ชญาตวาปิ ตะไตรวะ ปุนะรุตปัทยะเต ระติห์๚๖๔๚

กาเย นยัสโตปยะเสา คันธัศจันทะนาเทวะ นานยะตะห์ฯ

อันยะทีเยนะ คันเธนะ กัสมาทันยะตระ รัชยะเส๚๖๕๚

ยะทิ สวะภาวะเทารคันธยาทราโค นาตระ ศิวัม นะนุฯ

กิมะนรรถะรุจิโรลกัสตัม คันเธนานุลิมปะติ๚๖๖๚

กายัสยาตระ กิมายาตัม สุคันธิ ยะทิ จันทะนัมฯ

อันยะทีเยนะ คันเธนะ กัสมาทันยะตระ รัชยะเต๚๖๗๚

ยะทิ เกศะนะไขรทีรไฆรทันไตห์ สะมะละปาณฑุไรห์ฯ

มะละปังกะธะโร นัคนะห์ กายะห์ ประกฤติภีษะณะห์๚๖๘๚

สะ กิม สัมสกริยะเต ยัตนาทาตมะฆาตายะ ศัสตระวัตฯ

อาตมะวยาโมหะโนทยุกไตรุนมัตไตรากุลา มะหี๚๖๙๚

กังกาลาน กะติจิททฤษฏวา ศมะศาเน กิละ เต ฆฤณาฯ

ครามัศมะศาเน ระมะเส จะลัตกังกาละสังกุเล๚๗๐๚

เอวัม จาเมธยะมัปเยตัทวินา มูลยัม นะ ลัภยะเตฯ

ตะทรรถะมรรชะนายาโส นะระกาทิษุ จะ วยะถา๚๗๑๚

ศิโศรนารชะนะสามรรถยัม เกนาเสา เยาวะเน สุขีฯ

ยาตยรรชะเนนะ ตารุณยัม วฤทธะห์ กาไมห์ กะโรติ กิม๚๗๒๚

เกจิททินานตะวยาปาไรห์ ปะริศรานตาห์ กุกามินะห์ฯ

คฤหะมาคัตยะ สายาหเน เศระเต สมะ มฤตา อิวะ๚๗๓๚

ทัณฑะยาตราภิระปะเร ประวาสะเกลศะทุห์ขิตาห์ฯ

วัตสะระไรปิ เนกษันเต ปุตระทารามสตะทรรถินะห์๚๗๔๚

ยะทรรถะเมวะ วิกรีตะ อาตมา กามะวิโมหิไตห์ฯ

ตันนะ ปราปตัม มุไธวายุรนีตัม ตุ ปะระกรรมะณา๚๗๕๚

วิกรีตัสวาตมะภาวานาม สะทา เปรษะณะการิณามฯ

ประสูยันเต สตริโยนเยษามะฏะวีวิฏะปาทิษุ๚๗๖๚

ระณัม ชีวิตะสันเทหัม วิศันติ กิละ ชีวิตุมฯ

มานารถัม ทาสะตาม ยานติ มูฒาห์ กามะวิฑัมพิตาห์๚๗๗๚

ฉิทยันเต กามินะห์ เกจิทันเย ศูละสะมรรปิตาห์ฯ

ทฤศยันเต ทหยะมานาศจะ หันยะมานาศจะ ศักติภิห์๚๗๘๚

อรรชะนะรักษะณะนาศะวิษาไท-

รรรถะมะนรรถะมะนันตะมะเวหิฯ

วยะคระตะยา ธะนะสักตะมะตีนาม

นาวะสะโร ภะวะทุห์ขะวิมุกเตห์๚๗๙๚

เอวะมาทีนะโว ภูยานัลปาสวาทัสตุ กามินามฯ

ศะกะฏัม วะหะโต ยัทวัตปะโศรฆาสะละวะคระหะห์๚๘๐๚

ตัสยาสวาทะละวัสยารเถ ยะห์ ปะโศรัปยะทุรละภะห์ฯ

หะตา ไทวะหะเตเนยัม กษะณะสัมปัตสุทุรละภา๚๘๑๚

อะวัศยัม คันตุรัลปัสยะ นะระกาทิประปาตินะห์ฯ

กายัสยารเถ กฤโต โยยัม สรรวะกาลัม ปะริศระมะห์๚๘๒๚

ตะตะห์ โกฏิศะเตนาปิ ศระมะภาเคนะ พุทธะตาฯ

จรรยาทุห์ขานมะหัททุห์ขัม สา จะ โพธิรนะ กามินาม๚๘๓๚

นะ ศัสตรัม นะ วิษัม นาคนิรนะ ประปาโต นะ ไวริณะห์ฯ

กามานามุปะมาม ยานติ นะระกาทิวยะถาสมฤเตห์๚๘๔๚

เอวะมุทวิชยะ กาเมภโย วิเวเก ชะนะเยทระติมฯ

กะละหายาสะศูนยาสุ ศานตาสุ วะนะภูมิษุ๚๘๕๚

ธันไยห์ ศะศางกะกะระจันทะนะศีตะเลษุ

รัมเยษุ หรรมยะวิปุเลษุ ศิลาตะเลษุฯ

นิห์ศัพทะเสามยะวะนะมารุตะวีชยะมาไนห์

จังกรัมยะเต ปะระหิตายะ วิจินตยะเต จะ๚๘๖๚

วิหฤตยะ ยะตระ กวะจิทิษฏะกาลัม

ศูนยาละเย วฤกษะตะเล คุหาสุฯ

ปะริคระหะรักษะณะเขทะมุกตะห์

จะรัตยะเปกษาวิระโต ยะเถษฏัม๚๘๗๚

สวัจฉันทะจารยะนิละยะห์ ประติพัทโธ นะ กัสยะจิตฯ

ยัตสันโตษะสุขัม ภุงกเต ตะทินทรัสยาปิ ทุรละภัม๚๘๘๚

เอวะมาทิภิรากาไรรวิเวกะคุณะภาวะนาตฯ

อุปะศานตะวิตรรกะห์ สัน โพธิจิตตัม ตุ ภาวะเยต๚๘๙๚

ปะราตมะสะมะตามาเทา ภาวะเยเทวะมาทะราตฯ

สะมะทุห์ขะสุขาห์ สรรเว ปาละนียา มะยาตมะวัต๚๙๐๚

หัสตาทิเภเทนะ พะหุประการะห์

กาโย ยะไถกะห์ ปะริปาละนียะห์ฯ

ตะถา ชะคัทภินนะมะภินนะทุห์ขะ-

สุขาตมะกัม สรรวะมิทัม ตะไถวะ๚๙๑๚

ยัทยัปยันเยษุ เทเหษุ มัททุห์ขัม นะ ประพาธะเตฯ

ตะถาปิ ตัททุห์ขะเมวะ มะมาตมัสเนหะทุห์สะหัม๚๙๒๚

ตะถา ยัทยัปยะสัมเวทยะมันยัททุห์ขัม มะยาตมะนาฯ

ตะถาปิ ตัสยะ ตัททุห์ขะมาตมัสเนเหนะ ทุห์สะหัม๚๙๓๚

มะยานยะทุห์ขัม หันตะวยัม ทุห์ขัตวาทาตมะทุห์ขะวัตฯ

อะนุคราหยา มะยานเยปิ สัตตวัตวาทาตมะสัตตวะวัต๚๙๔๚

ยะทา มะมะ ปะเรษาม จะ ตุลยะเมวะ สุขัม ปริยัมฯ

ตะทาตมะนะห์ โก วิเศโษ เยนาไตรวะ สุโขทยะมะห์๚๙๕๚

ยะทา มะมะ ปะเรษาม จะ ภะยัม ทุห์ขัม จะ นะ ปริยัมฯ

ตะทาตมะนะห์ โก วิเศโษ ยัตตัม รักษามิ เนตะรัม๚๙๖๚

ตัททุห์เขนะ นะ เม พาเธตยะโต ยะทิ นะ รักษยะเตฯ

นาคามิกายะทุห์ขานเม พาธา ตัตเกนะ รักษยะเต๚๙๗๚

อะหะเมวะ ตะทาปีติ มิถเยยัม ปะริกัลปะนาฯ

อันยะ เอวะ มฤโต ยัสมาทันยะ เอวะ ประชายะเต๚๙๘๚

ยะทิ ตัสไยวะ ยัททุห์ขัม รักษยัม ตัสไยวะ ตันมะตัมฯ

ปาทะทุห์ขัม นะ หัสตัสยะ กัสมาตตัตเตนะ รักษยะเต๚๙๙๚

อะยุกตะมะปิ เจเทตะทะหังการาตประวรรตะเตฯ

ตะทะยุกตัม นิวรรตยัม ตัตสวะมันยัจจะ ยะถาพะลัม๚๑๐๐๚

สันตานะห์ สะมุทายัศจะ ปังกติเสนาทิวันมฤษาฯ

ยัสยะ ทุห์ขัม สะ นาสตยัสมาตกัสยะ ตัตสวัม ภะวิษยะติ๚๑๐๑๚

อัสวามิกานิ ทุห์ขานิ สรรวาณเยวาวิเศษะตะห์ฯ

ทุห์ขัตวาเทวะ วารยาณิ นิยะมัสตะตระ กิงกฤตะห์๚๑๐๒๚

ทุห์ขัม กัสมานนิวารยัม เจตสรรเวษามะวิวาทะตะห์ฯ

วารยัม เจตสรรวะมัปเยวัม นะ เจทาตมาปิ สัตตวะวัต๚๑๐๓๚

กฤปะยา พะหุ ทุห์ขัม เจตกัสมาทุตปัทยะเต พะลาตฯ

ชะคัททุห์ขัม นิรูปเยทัม กฤปาทุห์ขัม กะถัม พะหุ๚๑๐๔๚

พะหูนาเมกะทุห์เขนะ ยะทิ ทุห์ขัม วิคัจฉะติฯ

อุตปาทยะเมวะ ตัททุห์ขัม สะทะเยนะ ปะราตมะโนห์๚๑๐๕๚

อะตะห์ สุปุษปะจันเทรณะ ชานะตาปิ นฤปาปะทัมฯ

อาตมะทุห์ขัม นะ นิหะตัม พะหูนาม ทุห์ขินาม วยะยาต๚๑๐๖๚

เอวัม ภาวิตะสันตานาห์ ปะระทุห์ขะสะมะปริยาห์ฯ

อะวีจิมะวะคาหันเต หัมสาห์ ปัทมะวะนัม ยะถา๚๑๐๗๚

มุจยะมาเนษุ สัตตเวษุ เย เต ปราโมทยะสาคะราห์ฯ

ไตเรวะ นะนุ ปรรยาปตัม โมกเษณาระสิเกนะ กิม๚๑๐๘๚

อะตะห์ ปะรารถัม กฤตวาปิ นะ มะโท นะ จะ วิสมะยะห์ฯ

นะ วิปากะผะลากางกษา ปะรารไถกานตะตฤษณะยา๚๑๐๙๚

ตัสมาทยะถานตะโศวรรณาทาตมานัม โคปะยามยะหัมฯ

รักษาจิตตัม ทะยาจิตตัม กะโรมเยวัม ปะเรษวะปิ๚๑๑๐๚

อัภยาสาทันยะทีเยษุ ศุกระโศณิตะพินทุษุฯ

ภะวัตยะหะมิติ ชญานะมะสัตยะปิ หิ วัสตุนิ๚๑๑๑๚

ตะถา กาโยนยะทีโยปิ กิมาตเมติ นะ คฤหยะเตฯ

ปะรัตวัม ตุ สวะกายัสยะ สถิตะเมวะ นะ ทุษกะรัม๚๑๑๒๚

ชญาตวา สะโทษะมาตมานัม ปะรานะปิ คุโณทะธีนฯ

อาตมะภาวะปะริตยาคัม ปะราทานัม จะ ภาวะเยต๚๑๑๓๚

กายัสยาวะยะวัตเวนะ ยะถาภีษฏาห์ กะราทะยะห์ฯ

ชะคะโตวะยะวัตเวนะ ตะถา กัสมานนะ เทหินะห์๚๑๑๔๚

ยะถาตมะพุทธิรัภยาสาตสวะกาเยสมินนิราตมะเกฯ

ปะเรษวะปิ ตะถาตมัตวัม กิมัภยาสานนะ ชายะเต๚๑๑๕๚

เอวัม ปะรารถัม กฤตวาปิ นะ มะโท นะ จะ วิสมะยะห์ฯ

อาตมานัม โภชะยิตไววะ ผะลาศา นะ จะ ชายะเต๚๑๑๖๚

ตัสมาทยะถารติโศกาเทราตมานัม โคปตุมิจฉะสิฯ

รักษาจิตตัม ทะยาจิตตัม ชะคัตยัภยัสยะตาม ตะถา๚๑๑๗๚

อัธยะติษฐะทะโต นาถะห์ สวะนามาปยะวะโลกิตะห์ฯ

ปรรษัจฉารัทยะภะยะมัปยะปะเนตุม ชะนัสยะ หิ๚๑๑๘๚

ทุษกะรานนะ นิวรรเตตะ ยัสมาทัภยาสะศักติตะห์ฯ

ยัสไยวะ ศระวะณาตราสัสเตไนวะ นะ วินา ระติห์๚๑๑๙๚

อาตมานัม จาปะรามศไจวะ ยะห์ ศีฆรัม ตราตุมิจฉะติฯ

สะ จะเรตปะระมัม คุหยัม ปะราตมะปะริวรรตะนัม๚๑๒๐๚

ยัสมินนาตมันยะติสเนหาทัลปาทะปิ ภะยาทภะยัมฯ

นะ ทวิเษตกัสตะมาตมานัม ศะตรุวะโธ ภะยาวะหะห์๚๑๒๑๚

โย มานทยักษุตปิปาสาทิประตีการะจิกีรษะยาฯ

ปักษิมัตสยะมฤคาน หันติ ปะริปันถัม จะ ติษฐะติ๚๑๒๒๚

โย ลาภะสัตกริยาเหโตห์ ปิตะราวะปิ มาระเยตฯ

รัตนะตระยัสวะมาทัทยาทเยนาวีจีนธะโน ภะเวต๚๑๒๓๚

กะห์ ปัณฑิตัสตะมาตมานะมิจเฉทรักเษตประปูชะเยต๚

นะ ปัศเยจฉะตรุวัจไจนัม กัศไจนัม ประติมานะเยต๚๑๒๔๚

ยะทิ ทาสยามิ กิม โภกษเย อิตยาตมารเถ ปิศาจะตาฯ

ยะทิ โภกษเย กิม ทะทามีติ ปะรารเถ เทวะราชะตา๚๑๒๕๚

อาตมารถัม ปีฑะยิตวานยัม นะระกาทิษุ ปัจยะเตฯ

อาตมานัม ปีฑะยิตวา ตุ ปะรารถัม สรรวะสัมปะทะห์๚๑๒๖๚

ทุรคะติรนีจะตา เมารขยัม ยะไยวาตโมนนะตีจฉะยาฯ

ตาเมวานยะตระ สังกรามยะ สุคะติห์ สัตกฤติรมะติห์๚๑๒๗๚

อาตมารถัม ปะระมาชญัปยะ ทาสัตวาทยะนุภูยะเตฯ

ปะรารถัม ตเวนะมาชญัปยะ สวามิตวาทยะนุภูยะเต๚๑๒๘๚

เย เกจิททุห์ขิตา โลเก สรรเว เต สวะสุเขจฉะยาฯ

เย เกจิตสุขิตา โลเก สรรเว เตนยะสุเขจฉะยา๚๑๒๙๚

พะหุนา วา กิมุกเตนะ ทฤศยะตามิทะมันตะรัมฯ

สวารถารถินัศจะ พาลัสยะ มุเนศจานยารถะการิณะห์๚๑๓๐๚

นะ นามะ สาธยัม พุทธัตวัม สัมสาเรปิ กุตะห์ สุขัมฯ

สวะสุขัสยานยะทุห์เขนะ ปะริวรรตะมะกุรวะตะห์๚๑๓๑๚

อาสตาม ตาวัตปะโร โลเก ทฤษโฏปยรรโถ นะ สิธยะติฯ

ภฤตยัสยากุรวะตะห์ กรรมะ สวามิโนทะทะโต ภฤติม๚๑๓๒๚

ตยักตวานโยนยะสุโขตปาทัม ทฤษฏาทฤษฏะสุโขตสะวัมฯ

อันโยนยะทุห์ขะนาท โฆรัม ทุห์ขัม คฤหณันติ โมหิตาห์๚๑๓๓๚

อุปะทระวา เย จะ ภะวันติ โลเก

ยาวันติ ทุห์ขานิ ภะยานิ ไจวะฯ

สรรวาณิ ตานยาตมะปะริคระเหณะ

ตัตกิม มะมาเนนะ ปะริคระเหณะ๚๑๓๔๚

อาตมานะมะปะริตยัชยะ ทุห์ขัม ตยักตุม นะ ศักยะเตฯ

ยะถาคนิมะปะริตยัชยะ ทาหัม ตยักตุม นะ ศักยะเต๚๑๓๕๚

ตัสมาตสวะทุห์ขะศานตยรรถัม ปะระทุห์ขะศะมายะ จะฯ

ทะทามยันเยภยะ อาตมานัม ปะราน คฤหณามิ จาตมะวัต๚๑๓๖๚

อันยะสัมพัทธะมัสมีติ นิศจะยัม กุรุ เห มะนะห์ฯ

สรรวะสัตตวารถะมุตสฤชยะ นานยัจจินตยัม ตวะยาธุนา๚๑๓๗๚

นะ ยุกตัม สวารถะทฤษฏยาทิ ตะทีไยศจักษุราทิภิห์ฯ

นะ ยุกตัม สยันทิตุม สวารถะมันยะทีไยห์ กะราทิภิห์๚๑๓๘๚

เตนะ สัตตวะปะโร ภูตวา กาเยสมิน ยัทยะทีกษะเสฯ

ตัตตะเทวาปะหัตยาสมาต ปะเรภโย หิตะมาจะระ๚๑๓๙๚

หีนาทิษวาตมะตาม กฤตวา ปะรัตวะมะปิ จาตมะนิฯ

ภาวะเยรษยาม จะ มานัม จะ นิรวิกัลเปนะ เจตะสา๚๑๔๐๚

เอษะ สัตกริยะเต นาหัม ลาภี นาหะมะยัม ยะถาฯ

สตูยะเตหะมะหัม นินทโย ทุห์ขิโตหะมะยัม สุขี๚๑๔๑๚

อะหัม กะโรมิ กรรมาณิ ติษฐัตเยษะ ตุ สุสถิตะห์ฯ

อะยัม กิละ มะหามโลลเก นีโจหัม กิละ นิรคุณะห์๚๑๔๒๚

กิม นิรคุเณนะ กรรตะวยัม สรรวัสยาตมา คุณานวิตะห์ฯ

สันติ เต เยษวะหัม นีจะห์ สันติ เต เยษวะหัม วะระห์๚๑๔๓๚

ศีละทฤษฏิวิปัตตยาทิเกลศะศักตยา นะ มัทวะศาตฯ

จิกิตสโยหัม ยะถาศักติ ปีฑาปยังคีกฤตา มะยา๚๑๔๔๚

อะถาหะมะจิกิตสโยสยะ กัสมานมามะวะมันยะเสฯ

กิม มะไมตัทคุไณห์ กฤตยะมาตมา ตุ คุณะวานะยัม๚๑๔๕๚

ทุรคะติวยาละพักตรัสเถไนวาสยะ กะรุณา ชะเนฯ

อะปะรัม คุณะมาเนนะ ปัณฑิตาน วิชิคีษะเต๚๑๔๖๚

สะมะมาตมานะมาโลกยะ ยะตะห์ สวาธิกยะวฤทธะเยฯ

กะละเหนาปิ สัมสาธยัม ลาภะสัตการะมาตมะนะห์๚๑๔๗๚

อะปิ สรรวะตระ เม โลเก ภะเวยุห์ ประกะฏา คุณาห์ฯ

อะปิ นามะ คุณา เยสยะ นะ โศรษยันตยะปิ เกจะนะ๚๑๔๘๚

ฉาทเยรันนะปิ เม โทษาห์ สยานเม ปูชาสยะ โน ภะเวตฯ

สุลัพธา อัทยะ เม ลาภาห์ ปูชิโตหะมะยัม นะ ตุ๚๑๔๙๚

ปัศยาโม มุทิตาสตาวัจจิราเทนัม ขะลีกฤตัมฯ

หาสยัม ชะนัสยะ สรรวัสยะ นินทยะมานะมิตัสตะตะห์๚๑๕๐๚

อัสยาปิ หิ วะรากัสยะ สปรรธา กิละ มะยา สะหะฯ

กิมัสยะ ศรุตะเมตาวัต ปรัชญา รูปัม กุลัม ธะนัม๚๑๕๑๚

เอวะมาตมะคุณาน ศรุตวา กีรตยะมานานิตัสตะตะห์ฯ

สัญชาตะปุละโก หฤษฏะห์ ปะริโภกษเย สุโขตสะวัม๚๑๕๒๚

ยัทยัปยัสยะ ภะเวลลาโภ คราหโยสมาภิระเสา พะลาตฯ

ทัตวาสไม ยาปะนามาตระมัสมัตกรรมะ กะโรติ เจต๚๑๕๓๚

สุขาจจะ จยาวะนีโยยัม โยชโยสมัทวยะถะยา สะทาฯ

อะเนนะ ศะตะศะห์ สรรเว สัมสาระวยะถิตา วะยัม๚๑๕๔๚

อะประเมยา คะตาห์ กัลปาห์ สวารถัม ชิชญาสะตัสตะวะฯ

ศระเมณะ มะหะตาเนนะ ทุห์ขะเมวะ ตวะยารชิตัม๚๑๕๕๚

มัทวิชญัปตยา ตะถาตราปิ ประวรรตัสวาวิจาระตะห์ฯ

ทรักษยัสเยตัทคุณาน ปัศจาทภูตัม หิ วะจะนัม มุเนห์๚๑๕๖๚

อะภะวิษยะทิทัม กรรมะ กฤตัม ปูรวัม ยะทิ ตวะยาฯ

เพาทธัม สัมปัตสุขัม มุกตวา นาภะวิษยะทิยัม ทะศา๚๑๕๗๚

ตัสมาทยะถานยะทีเยษุ ศุกระโศณิตะพินทุษุฯ

จะกรรถะ ตวะมะหังการัม ตะถานเยษวะปิ ภาวะยะ๚๑๕๘๚

อันยะทียัศจะโร ภูตวา กาเยสมิน ยัทยะทีกษะเสฯ

ตัตตะเทวาปะหฤตยรรถัม ปะเรภโย หิตะมาจะระ๚๑๕๙๚

อะยัม สุสถะห์ ปะโร ทุห์สโถ นีไจรันโยยะมุจจะไกห์ฯ

ปะระห์ กะโรตยะยัม เนติ กุรุษเวรษยาม ตวะมาตมะนิ๚๑๖๐๚

สุขาจจะ จยาวะยาตมานัม ปะระทุห์เข นิโยชะยะฯ

กะทายัม กิม กะโรตีติ ฉะละ(ผะละ)มัสยะ นิรูปะยะ๚๑๖๑๚

อันเยนาปิ กฤตัม โทษัม ปาตะยาสไยวะ มัสตะเกฯ

อัลปะมัปยัสยะ โทษัม จะ ประกาศะยะ มะหามุเนห์๚๑๖๒๚

อันยาธิกะยะโศวาไทรยะโศสยะ มะลินีกุรุฯ

นิกฤษฏะทาสะวัจไจนัม สัตตวะการเยษุ วาหะยะ๚๑๖๓๚

นาคันตุกะคุณามเศนะ สตุตโย โทษะมะโย หยะยัมฯ

ยะถา กัศจินนะ ชานียาทคุณะมัสยะ ตะถา กุรุ๚๑๖๔๚

สังกเษปาทยัทยะทาตมารเถ ปะเรษวะปะกฤตัม ตวะยาฯ

ตัตตะทาตมะนิ สัตตวารเถ วยะสะนัม วินิปาตะยะ๚๑๖๕๚

ไนโวตสาโหสยะ ทาตะวโย เยนายัม มุขะโร ภะเวตฯ

สถาปโย นะวะวะธูวฤตเตา หรีโต ภีโตถะ สัมวฤตะห์๚๑๖๖๚

เอวัม กุรุษวะ ติษไฐวัม นะ กรรตะวยะมิทัม ตวะยาฯ

เอวะเมวะ วะศะห์ การโย นิคราหยัสตะทะติกระเม๚๑๖๗๚

อะไถวะมุจยะมาเนปิ จิตตะ เนทัม กะริษยะสิฯ

ตวาเมวะ นิคระหีษยามิ สรรวะโทษาสตวะทาศริตาห์๚๑๖๘๚

กวะ ยาสยะสิ มะยา ทฤษฏะห์ สรรวะทรรปานนิหันมิ เตฯ

อันโยเสา ปูรวะกะห์ กาลัสตวะยา ยัตราสมิ นาศิตะห์๚๑๖๙๚

อัทยาปยัสติ มะมะ สวารถะ อิตยาศาม ตยะชะ สามประตัมฯ

ตวัม วิกรีโต มะยานเยษุ พะหุเขทะมะจินตะยัน๚๑๗๐๚

ตวาม สัตตเวษุ นะ ทาสยามิ ยะทิ นามะ ประโมทะตะห์ฯ

ตวัม มาม นะระกะปาเลษุ ประทาสยะสิ นะ สัมศะยะห์๚๑๗๑๚

เอวัม จาเนกะธา ทัตวา ตวะยาหัม วยะถิตัศจิรัมฯ

นิหันมิ สวารถะเจฏัม ตวาม ตานิ ไวราณยะนุสมะรัน๚๑๗๒๚

นะ กรรตะวยาตมะนิ ปรีติรยัทยาตมะปรีติรัสติ เตฯ

ยัทยาตมา รักษิตะวโยยัม รักษิตะวโย นะ ยุชยะเต๚๑๗๓๚

ยะถา ยะถาสยะ กายัสยะ กริยะเต ปะริปาละนัมฯ

สุกุมาระตะโร ภูตวา ปะตัตเยวะ ตะถา ตะถา๚๑๗๔๚

อัสไยวัม ปะติตัสยาปิ สรรวาปียัม วะสุนธะราฯ

นาลัม ปูระยิตุม วาญฉาม ตัตโกสเยจฉาม กะริษยะติ๚๑๗๕๚

อะศักยะมิจฉะตะห์ เกลศะ อาศาภังคัศจะ ชายะเตฯ

นิราโศ ยัสตุ สรรวะตระ ตัสยะ สัมปะทะชีรณิกา๚๑๗๖๚

ตัสมานนะ ประสะโร เทยะห์ กายัสเยจฉาภิวฤทธะเยฯ

ภะทระกัม นามะ ตัทวัสตุ ยะทิษฏัตวานนะ คฤหยะเต๚๑๗๗๚

ภัสมะนิษฐาวะสาเนยัม นิศเจษฏานเยนะ จาลยะเตฯ

อะศุจิประติมา โฆรา กัสมาทะตระ มะมาคระหะห์๚๑๗๘๚

กิม มะมาเนนะ ยันเตรณะ ชีวินา วา มฤเตนะ วาฯ

โลษฏาเทห์ โก วิเศโษสยะ หาหังการัม นะ นัศยะสิ๚๑๗๙๚

ศะรีระปักษะปาเตนะ วฤถา ทุห์ขะมุปารชยะเตฯ

กิมัสยะ กาษฐะตุลยัสยะ ทเวเษณานุนะเยนะ วา๚๑๘๐๚

มะยา วา ปาลิตัสไยวัม คฤธราทไยรภักษิตัสยะ วาฯ

นะ จะ สเนโห นะ จะ ทเวษัสตะตระ สเนหัม กะโรมิ กิม๚๑๘๑๚

โรโษ ยัสยะ ขะลีการาตโตโษ ยัสยะ จะ ปูชะยาฯ

สะ เอวะ เจนนะ ชานาติ ศระมะห์ กัสยะ กฤเตนะ เม๚๑๘๒๚

อิมัม เย กายะมิจฉันติ เตปิ เม สุหฤทะห์ กิละฯ

สรรเว สวะกายะมิจฉันติ เตปิ กัสมานนะ เม ปริยาห์๚๑๘๓๚

ตัสมานมะยานะเปกเษณะ กายัสตยักโต ชะคัทธิเตฯ

อะโตยัม พะหุโทโษปิ ธารยะเต กรรมะภาณฑะวัต๚๑๘๔๚

เตนาลัม โลกะจะริไตห์ ปัณฑิตานะนุยามยะหัมฯ

อะประมาทะกะถาม สมฤตวา สตยานะมิทธัม นิวาระยัน๚๑๘๕๚

ตัสมาทาวะระณัม หันตุม สะมาธานัม กะโรมยะหัมฯ

วิมารคาจจิตตะมากฤษยะ สวาลัมพะนะนิรันตะรัม๚๑๘๖๚

โพธิจรรยาวะตาเร ธยานะปาระมิตา นามะ อัษฏะมะห์ ปะริจเฉทะห์ฯ

บทแปล โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ  ปริเฉทที่ ๘ ธยานบารมี(สมาธิ)

 

  1. ครั้งได้เพิ่มพูนความอุตสาหะขึ้นอย่างนี้แล้ว บุคคลพึงทำจิตใจให้ตั้งมั่นอยู่ในสมาธิส่วนนรชนผู้มีจิตใจกระสับกระส่ายอยู่ชื่อว่าได้ยืนอยู่ในท่ามกลางเขี้ยวเล็บของกิเลสทั้งหลาย
  2. ด้วยการพิจารณากายและจิตให้แยกออกจากกัน การเกิดขึ้นแห่งความฟุ่งซ่านย่อมไม่มีเพราะฉะนั้น เมื่อได้สลัดทิ้งซึ่งโลกได้แล้ว บุคคลควรกำจัดความนึกคิดทั้งหลายเสีย
  3. โลกอันใคร ๆ สลัดทิ้งไม่ได้อยู่ก็เพราะความรักผูกพันและเพราะความปรารถนาในประโยชน์ทั้งหลายมีลาภเป็นต้น ดังนั้น ในการสลัดทิ้งโลกนั้น บุคคลผู้มีปัญญาควร(หมั่น ) พิจารณาอย่างนี้ว่า
  4. บุคคลจะเป็นผู้บรรลุถึงปัญญาได้ด้วยดีก็เพราะอาศัยความสงบ(มาก่อน) เขาได้ทำลายกิเลสให้พินาศไปอยู่จึงได้เป็นผู้รู้แจ้งเห็นจริง เขาควรแสวงหาความสงบเป็นประการแรกและไม่ควรเป็นผู้เอาใจใส่ในโลก(มากนัก ) แต่ควรมีความปลื้มปีติยินดี(ต่อโลก)
  5. ในบรรดาบุคคลทั้งหลายซึ่งเป็นผู้ไม่เที่ยงแท้ยั่งยืน ความรักของใคร ๆ ย่อมควรจะมีแก่คนผู้ไม่เที่ยงได้หรือ ด้วยว่าบุคคลอันเป็นที่รัก ใคร ๆ จะไม่พึงได้เห็นอีก ตลอดกาลนานหลายพันปี
  6. เมื่อไม่ได้เห็นอยู่บุคคลก็จักเข้าถึงซึ่งความไม่ยินดีและจะไม่ตั้งมั่นอยู่ในสมาธิและแม้ได้เห็น(ซึ่งผู้เป็นที่รักนั้น) แล้ว เขาก็หาพอใจอยู่ไม่เขาย่อมถูกความอยากเบียดเบียนอยู่เหมือนครั้งก่อน
  7. (หาก) บุคคลย่อมไม่เห็นตามความจริงได้เขาย่อมเสื่อมทรามลงเพราะการเกี่ยวข้องคลุกคลี(กับคนอื่น) ย่อมถูกเผาไหม้อยู่ด้วยความเศร้าโศกนั้น เพราะมีความปรารถนาที่จะเกี่ยวข้องผูกพันอยู่กับบุคคลผู้เป็นที่รัก
  8. เพราะความคิดอันไร้ซึ่งประโยชน์นั้น อายุจึงได้ผ่านไปอย่างรวดเร็ว ในทุก ๆ ครั้ง เพราะมิตรสหายผู้ไม่ยั่งยืน บุคคลจึงได้ตกล่วงจากพระสัทธรรมอันเที่ยงแท้แน่นอน
  9. บุคคลผู้ประพฤติร่วมอยู่ด้วยหมู่คนพาลทั้งหลาย ย่อมไปสู่ทุคติอย่างแน่แท้แต่บุคคลผู้ประพฤติตรงกันข้ามย่อมไม่ถูกชักนำไป(สู่ทุคติ) ประโยชน์อะไรจะพึงมีโดยประการที่เขาได้รับจากการคบหาสมาคมกับคนพาลทั้งหลายเล่า
  10. (คนพาลเหล่านั้น) ย่อมเป็นมิตรสหายผู้ใจดีในขณะหนึ่ง แต่อีกขณะหนึ่งกลับเป็นศัตรูพวกเขาย่อมโกรธตอบแม้ในสภาพการณ์อันน่าเพลิดเพลินใจ ปุถุชนเป็นคนที่เข้าใจได้ยาก(จริง )
  11. (คนพาลเหล่านั้น) เมื่อใคร ๆ กล่าวแนะนำถ้อยคำที่เป็นประโยชน์ก็จักโกรธตอบ และห้ามอยู่ซึ่งข้าพเจ้าจากสิ่งอันเป็นประโยชน์หากใคร ๆ ไม่ฟังอยู่(ซึ่งถ้อยคำ) ของพวกเขาพวกเขาผู้โกรธแล้วจักไปสู่ทุคติ
  12. (คนพาลเหล่านั้น) ย่อมมีความริษยาต่อบุคคลผู้ที่เหนือกว่าเป็นศัตรูคู่ต่อสู้กับผู้ที่เสมอกันมีความหยิ่งทะนงตนต่อคนผู้ต่ำกว่าหลงมัวเมาอยู่กับคำสรรเสริญและโกรธตอบต่อผู้ที่กล่าวร้าย ความสงบตั้งมั่นจากพวกคนพาลจะพึงมีได้ในกาลไหน
  13. ความชั่วอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น การคุยโม้โอ้อวดตนเอง การตำหนิกล่าวร้ายผู้อื่นการพรรณนาถึงความสุขยินดีในสังสารวัฏ(ย่อมเกิดขึ้นมาจาก) คนพาลคนหนึ่ง(ไปสู่)คนพาลอื่น ๆ โดยไม่ต้องสงสัย
  14. เพราะการคลุกคลีเกี่ยวข้องกับด้วยคนพาลเหล่านั้น ของคนอื่น ๆ อยู่อย่างนี้เอง ด้วยเหตุนั้น การประสบกับสิ่งไม่ดีงามจึงมีอยู่ข้าพเจ้าผู้เดียวเท่านั้นจักอาศัยอยู่ด้วยความสุขและจิตใจที่สงบเบิกบาน
  15. บุคคลพึงหลีกหนีจากคนพาลเสียให้ห่างไกล พึงผูกไมตรีกับคนพาลที่ได้ประสบเข้าแล้วด้วยความรัก แต่เขาไม่ควรสนิทสนมคนพาลนั้นด้วยความผูกพันคลุกคลีเกินไป เหมือนคนดีผู้ควรบูชาเป็นผู้ไม่ใยดีต่ออะไร ๆ ฉะนั้น
  16. เมื่อได้ถือเอาซึ่งสิ่งที่ต้องการเพียงเพื่อประโยชน์แห่งพระธรรม เหมือนผึ้ง(ดูดเอาอยู่) ซึ่งน้ำหวานจากดอกไม้ฉะนั้นแล้ว ข้าพเจ้าผู้ไม่คุ้นเคยย่อมอาศัยอยู่ในที่ทั้งปวง ดุจดังว่าพระจันทร์ดวงใหม่(ปรากฏอยู่ในทิศานุทิศ ) ฉะนั้น
  17. ภัยจากความตายที่ได้ประสบเข้าแล้ว ย่อมเกิดขึ้นแก่มนุษย์ด้วยความสำคัญว่าข้าพเจ้าเป็นผู้มีลาภ มีเกียรติยศ ผู้คนจำนวนมากมายย่อมปรารถนาซึ่งข้าพเจ้าดังนี้
  18. จิตที่โง่หลงอยู่กับความสุข ย่อมถึงซึ่งความยินดีเพลิดเพลินในที่ใด ๆ จิตนั้นอันมีความทุกข์นับได้มากถึงพันเท่าย่อมปรากฏขึ้นในที่นั้น
  19. เพราะฉะนั้น บุคคลผู้มีปัญญาจึงไม่ควรปรารถนาซึ่งความสุขยินดีเช่นนั้น(เพราะว่า) ภัยย่อมเกิดขึ้นจากความปรารถนาแต่หากความสุขยินดีนั้นย่อมมีด้วยตัวมันเอง เมื่อได้ทำจิตนั้นให้สงบมั่นแล้ว บุคคลก็จงพิจารณาเห็นซึ่งจิตนั้นเถิด (1)

1 รู้เท่าทันจิต

 

  1. บุคคลจำนวนมากได้เป็นผู้มีลาภ และเป็นผู้มีเกียรติยศ(แต่) พวกเขาเหล่านั้นไม่เคยรู้ว่าพวกเขาพร้อมทั้งลาภและยศนั้น จักไป ณ ที่ไหน
  2. (หาก) คนเหล่าอื่นตำหนิติเตียนอยู่ซึ่งข้าพเจ้าข้าพเจ้าจะร่าเริงยินดีอยู่กับคำสรรเสริญได้อย่างไร(และหาก) คนเหล่าอื่นย่อมสรรเสริญซึ่งข้าพเจ้าข้าพเจ้าจะเศร้าโศกอยู่กับคำนินทาได้อย่างไรเล่า
  3. แม้พระชินเจ้าเอง ก็ไม่ทรงสามารถให้สัตว์ทั้งหลาย ซึ่งมีความชอบใจแตกต่างกัน ให้เป็นผู้มีความยินดีพอใจได้(ทั้งหมด) จะป่วยกล่าวไปใยถึงบุคคลผู้โง่เขลาเช่นกับข้าพเจ้าด้วยเล่าดังนั้น จะพึงมีประโยชน์อะไรด้วยการคิดคำนึงถึงโลกียชน(ซึ่งเป็นพาล) นั่นเล่า
  4. (เพราะคนพาลทั้งหลาย) ย่อมนินทาสัตว์ผู้ไม่มีลาภและย่อมคิดมุ่งร้ายต่อสัตว์ผู้มีลาภความสุขพอใจจะเกิดขึ้นจากคนพาล ซึ่งเป็นผู้อาศัยอยู่ด้วยทุกข์ตามสภาพของตนเหล่านั้นได้อย่างไร
  5. พระตถาคตทั้งหลายได้ตรัสไว้ว่าคนพาลไม่เคยเป็นมิตรต่อใคร ๆ เพราะว่าเว้นเสียจากการมุ่งประโยชน์ตนแล้ว ความยินดีปราโมทย์ย่อมไม่อาจเกิดขึ้นแก่คนพาลได้
  6. ความยินดีปราโมทย์ใด(ย่อมเกิดขึ้น) โดยช่องทางนำไปสู่ประโยชน์ของตน ความยินดีนั้น(ย่อมชื่อว่าเกิดขึ้น) เพื่อประโยชน์ตนนั่นเอง ประหนึ่งว่าเมื่อความพินาศไปแห่งทรัพย์มีอยู่ความทุกข์(ก็ย่อมเกิดขึ้นมา) เพราะความพินาศไปแห่งทรัพย์นั้นเป็นเหตุทำให้ความสุขเสื่อมสิ้นไป(นั่นเอง)
  7. ต้นไม้ทั้งหลายย่อมไม่คิดมุ่งร้าย(ต่อสิ่งใด) และมันก็ไม่มุ่งหวังเกียรติยศชื่อเสียงมากเกินไป การได้อาศัยอยู่กับด้วย(มิตรคือต้นไม้) ซึ่งดำรงอยู่ด้วยความสุขใจเหล่านั้น จะพึงมีแก่ข้าพเจ้าในกาลไหนหนอ
  8. ข้าพเจ้าได้อาศัยอยู่แล้วในอารามอันว่างเปล่าที่โคนต้นไม้หรือในถ้ำทั้งหลาย เป็นผู้วางเฉย ไม่แลดูโดยข้างเบื้องหลัง จักดำเนินไปได้ในกาลไหนหนอ
  9. เมื่อใด ข้าพเจ้าผู้กระวนกระวายอยู่ด้วยการพักผ่อนอย่างโลกียวิสัย จักได้อาศัยอยู่ในประเทศหรือในสถานที่อันกว้างขวางทั้งหลาย ซึ่งปราศจากการยึดติดจากโลกีย์โดยธรรมชาติหนอ
  10. ข้าพเจ้าผู้มีทรัพย์สมบัติเพียงแต่บาตรดิน มีจีวรอันไร้ค่าสำหรับโจร ไม่มีความกลัว ไม่รักษาคุ้มครองร่างกาย จักเป็นอยู่(เช่นนี้) ได้ในกาลไรหนอ
  11. เมื่อได้ไปสู่ป่าช้าหลุมฝังศพแล้ว ในกาลไรหนอ ข้าพเจ้าจักได้เปรียบเทียบร่างกายของตนอันแบกไว้ซึ่งความเปื่อยเน่าผุพังกับด้วยโครงกระดูกเหล่าอื่นเล่า
  12. ด้วยร่างกายของข้าพเจ้าเป็นของเปื่อยเน่าเช่นนี้เอง แม้แต่ฝูงสุนัขจิ้งจอกก็ไม่กล้าวิ่งเข้าไปหาในที่ใกล้ๆ เพราะกลิ่นเหม็น (ของร่างกาย )
  13. ท่อนกระดูกอันเกิดขึ้นพร้อมด้วยร่างกายแม้อย่างหนึ่ง ๆ นั้น จักถึงซึ่งการแตกสลายไปทีละส่วน ๆ จะป่วยกล่าวไปไยถึงชนผู้เป็นที่รักอื่น ๆ ด้วยเล่า
  14. มนุษย์ย่อมเกิดขึ้นมาเพียงลำพัง และเขาผู้เดียวเท่านั้นจักต้องตายจากไป ส่วนแห่งความทุกข์ของเขานั้น (ย่อมไม่มี) แก่บุคคลอื่น จะมีประโยชน์อะไรกับด้วยหมู่ชนผู้เป็นที่รัก ซึ่งเป็นผู้คอยทำการขัดขวาง(ต่อการบำเพ็ญบุญกุศลด้วยเล่า)
  15. การกำหนดเอาซึ่งที่พักอาศัย(ย่อมมี) แก่นักเดินทางสู่ถนนอันยาวไกล ฉันใดการกำหนดเอาซึ่งที่อยู่อาศัยแห่งการเกิด ก็จักมีแก่สัตว์ผู้ท่องเที่ยวไปในภพทั้งหลายฉันนั้น
  16. เมื่อถูกชาวโลก(คือพวกพ้อง) ทำให้เศร้าโศกอยู่บุคคลจึงควรหลีกเร้นไปสู่ป่าเสียก่อนเพียงไรแต่เขาจะไม่ถูกบุรุษ 4 คนแบกหามไปจากที่พักอาศัยนั้น
  17. ร่างกาย (ของเขา) ย่อมดำรงอยู่เพียงลำพังผู้เดียว โดยปราศจากพวกพ้องและความขัดแย้งทั้งหลาย เขาย่อมชื่อว่าเป็นผู้ตายอยู่ในโลกก่อนแล้ว และเมื่อตายอยู่ก็จะไม่เป็นผู้โศกเศร้า
  18. บุคคลใดคนหนึ่งผู้ได้ดำเนินไปในที่ใกล้เศร้าโศกอยู่ย่อมไม่อาจสร้างความทุกข์ยาก(ให้แก่เขาได้) และใคร ๆ ก็ย่อมไม่สามารถรบกวนการตามระลึกถึงพระพุทธเจ้าเป็นต้นของเขา(ให้หวั่นไหวได้)
  19. เพราะฉะนั้น ขอให้ข้าพเจ้าผู้ดำรงอยู่เพียงลำพัง มีความสุขใจ ไม่เกี่ยวข้องอยู่กับความทุกข์ยาก รุ่งเรืองอยู่ด้วยสิ่งอันประเสริฐงดงาม พึงได้ส่องเสพความสงบจากสิ่งอันฟุ่งซ่านรำคาญทั้งปวง ในกาลทุกเมื่อเถิด
  20. ข้าพเจ้าผู้ได้หลุดพ้นแล้ว จากการคิดคำนึงถึงสิ่งอื่น ๆ ทั้งปวง มีจิตตั้งมั่นอยู่ในสติสัมปชัญญะของตนเองและในอารมณ์หนึ่งเดียว จักพยายามเพื่อการตั้งมั่นและเพื่อการควบคุมซึ่งจิต
  21. ด้วยว่ากามทั้งหลายเป็นรากเง้าของสิ่งอันไร้ซึ่งประโยชน์ทั้งในโลกนี้และโลกหน้าในโลกนี้(มันก่อให้เกิด) การผูกมัด การเข่นฆ่าและการตัดทำลาย ในโลกหน้า(มันก่อให้เกิด ) ในนรกเป็นต้น
  22. การวิงวอนอ่อนน้อมจำนวนมากของแม่สื่อและพ่อสื่อทั้งหลาย ย่อมมีเพื่อประโยชน์ใดหรือว่าความชั่วและการเสื่อมเสียเกียรติยศอันบุคคลมิได้คำนึงไว้ในครั้งก่อน ย่อมมีเพื่อประโยชน์อันใด(บุคคลย่อมปรารถนาซึ่งประโยชน์ทั้งปวงนั้นแล)
  23. และเมื่อได้เกี่ยวข้องอยู่กับความสุขสงบสูงสุดอันปรากฏขึ้นแล้วเหล่าใด ตนก็ได้ขว้างทิ้งสิ่งเหล่านั้นแล้วแม้ในความกลัว และทรัพย์สมบัติก็ได้เสื่อมสิ้นไปแล้ว (เช่นกัน )
  24. สิ่งที่อาศัยอยู่ในตนและสิ่งที่ปราศจากการยึดติดในตัวตนทั้งหลาย มิได้เป็นอย่างอื่นพวกมันเป็นเพียงโครงกระดูกเท่านั้นเอง เมื่อได้ยึดติด(พวกมัน) อยู่ตามความปรารถนาแล้ว เจ้า (1) จะไม่ไปสู่ความสงบ(อันแท้จริง ) หรืออย่างไร

1 หมายถึง จิต

 

  1. ใบหน้าที่ถูกปกคลุมไว้ด้วยผ้าคลุมหน้าทั้งที่มองเห็นได้และเห็นไม่ได้ในครั้งก่อน ถูกยกขึ้นอยู่ด้วยความพากเพียร และโน้มต่ำลงอยู่ด้วยความอ่อนน้อมถ่อมตัว
  2. บัดนี้หน้านั้นถูกเปิดออกแล้วด้วยฝูงอีแร้งทั้งหลาย ซึ่งดูประหนึ่งว่าไม่อาจจะต้านทานความยากลำบากของเจ้าไว้ได้ในบัดนี้เพราะเหตุอะไร เมื่อได้เข้าใจแล้ว เจ้าจะหนีไปจาก(มัน ) อีกเล่า
  3. ใบหน้าใด เป็นสิ่งที่เจ้าเคยได้ปกป่องรักษาไว้แล้ว แม้จากการชำเลืองมองแห่งดวงตาของคนอื่น บัดนี้ใบหน้านั้นถูก (อีแร้งทั้งหลาย) จิกกินอยู่แล้ว เพราะเหตุอะไร เจ้าซึ่งเป็นผู้ขี้อิจฉาหวงแหนจึงไม่รักษาไว้เล่า
  4. เมื่อได้เห็นซึ่งภูเขาแห่งเนื้อนี้อันถูกฝูงอีแร้งและสัตว์เหล่าอื่นจิกกินอยู่แล้ว เจ้าจะยังบูชาซึ่งอาหารของสัตว์เหล่าอื่น ด้วยพวงมาลัย ไม้จันทน์และเครื่องประดับทั้งหลายอยู่อีกหรือ
  5. ความหวาดกลัวต่อโครงกระดูกอันปราศจากการเคลื่อนไหว(ย่อมเกิดขึ้น) แก่เจ้าเพราะการได้เห็นเช่นนั้น เพราะเหตุอะไร ความกลัวต่อโครงกระดูกซึ่งถูกภูตผีปีศาจบางตนทำให้เคลื่อนไหวอยู่(ย่อมไม่เกิดขึ้นแก่ท่านเล่า)
  6. น้ำลายและอุจจาระเหล่านี้ย่อมเกิดขึ้นจากอาหารเช่นเดียวกัน ในบรรดาสิ่งปฏิกูลทั้งสองนั้น อุจจาระไม่เป็นที่พอใจของเจ้าการดื่มน้ำลายจักเป็นที่ชอบใจของเจ้าได้อย่างไรเล่า
  7. บุคคลผู้ใคร่ในกามทั้งหลาย ย่อมไม่ยินดีกับด้วยหมอนทั้งหลายอันเต็มไปด้วยฝ่ายและรับสัมผัสได้อย่างอ่อนนุ่ม (แต่กลับ ) เป็นผู้หลงโง่อยู่กับด้วยอุจจาระ เพราะคิดว่ากลิ่นเหม็นย่อมไม่ไหลออกมาดังนี้
  8. แม้เมื่ออุจจาระถูกปกปิดไว้แล้ว ร่างกายนี้ก็ย่อมก่อให้เกิดความกำหนัดขึ้นได้เพราะเหตุอะไร อุจจาระซึ่งไม่ได้ปกปิดไว้แล้วนั้น ย่อมไม่เป็นที่ปรารถนาด้วยเล่าหากมันไม่มีประโยชน์แล้วไซร้ทำไมบุคคลย่อมหลงใหลมัวเมาซึ่งอุจจาระอันถูกร่างกายนั้นปกปิดไว้แล้วด้วยเล่า
  9. หากสิ่งปฏิกูลทั้งสอง (1) ย่อมไม่เป็นที่กำหนัดใคร่ของเจ้าไซร้เพราะเหตุอะไร เจ้าจึงสวมกอดอยู่กับโครงกระดูกอื่น ๆ อันเป็นซี่โครงที่รัดรึงอยู่ด้วยเส้นเอ็น ฉาบทาอยู่ด้วยสิ่งสกปรกคือเนื้อด้วยเล่า

1  โครงกระดูกและเนื้อ

 

  1. อุจจาระจำนวนมากมายของตัวเจ้านั้นเองมีอยู่เจ้าก็จงกระทำความสุขพอใจกับด้วยอุจจาระนั้นเถิด เจ้าซึ่งมีความกระหายต่อสิ่งปฏิกูล จงลืมถุงอุจจาระอื่น ๆ เสียเถิด
  2. เจ้ากล่าวว่าข้าพเจ้ามีความรักต่อเนื้อแห่งโครงกระดูกนั้น จึงปรารถนาอยู่เพื่อจะได้เห็นและสัมผัส(กับมัน) เจ้าจักปรารถนาซึ่งเนื้ออันไร้ความรู้สึกนึกคิดโดยธรรมชาติได้อย่างไรเล่า
  3. เจ้าย่อมปรารถนาซึ่งจิตใด เจ้าก็จักไม่สามารถจะได้เห็นและสัมผัสซึ่งจิตนั้นได้และหากเจ้าสามารถ(จะได้เห็นและสัมผัส) จิตใด เจ้าก็ย่อมไม่อาจหยั่งรู้ต่อจิตนั้นได้เลย เหตุนั้นเจ้าจะยังยึดเอาซึ่งจิตนั้น โดยความว่างเปล่าอยู่อีกหรือ
  4. มันไม่น่าประหลาดใจเลยว่าเจ้าไม่อาจจะเข้าใจซึ่งร่างกายของบุคคลอื่นอันเป็นของสกปรกได้แต่มันจะน่าประหลาดใจ(ยิ่งนัก ) หากเจ้าไม่รู้ซึ่งร่างกายของตัวเจ้าเองว่าเป็นสิ่งสกปรกโสโครก
  5. เมื่อได้สละซึ่งดอกบัวอ่อน อัน(ชูช่อ) สว่างสดใสด้วยรัศมีแห่งพระอาทิตย์ที่ไร้ซึ่งเมฆหมอกแล้ว ความสุขยินดีอะไรจักมีแก่ดวงจิตซึ่งติดหลงอยู่ด้วยสิ่งไม่สะอาด ในกรงกรอบแห่งสิ่งปฏิกูลด้วยเล่า
  6. หากเจ้าย่อมไม่ปรารถนาเพื่อจะสัมผัสซึ่งวัตถุมีโลก เป็นต้น เพราะมันฉาบทาอยู่ด้วยสิ่งสกปรกแล้วไซร้เหตุนั้น เจ้าจะปรารถนาเพื่อจะสัมผัสซึ่งร่างกายนั้น อันถูกขว้างทิ้งออกมาจากสิ่งปฏิกูลนั้นได้อย่างไร
  7. หากความกำหนัดใคร่ในสิ่งปฏิกูลย่อมไม่มีแก่เจ้าไซร้เพราะเหตุอะไร เจ้าจึงสวมกอดอยู่กับผู้อื่นเล่า(ด้วยว่า) เชื้อพันธุ์อันเกิดขึ้นมาจากขอบเขตแห่งสิ่งสกปรกโสโครกนั้น เป็นสิ่งที่เจริญขึ้นแล้วจากสิ่งปฏิกูลนั่นเอง
  8. เจ้าย่อมไม่ปรารถนาซึ่งหนอนตัวเล็ก ๆ ที่สกปรก อันเกิดมาจากสิ่งปฏิกูล แต่เจ้า(กลับ)ปรารถนาอยู่ซึ่งร่างกายนี้อันมีความสกปรกโสโครกมากมาย และเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นมาจากสิ่งปฏิกูล (เช่นกัน )
  9. เจ้าย่อมไม่ปรารถนาจะตำหนิซึ่งตัวตนของเจ้าอันสกปรกโสมมนี้เพียงอย่างเดียวหาได้ไม่แน่ะเจ้าผู้กระหายอยากต่อสิ่งปฏิกูล(เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว) เจ้าจะยังปรารถนาอยู่ซึ่งภาชนะแห่งสิ่งปฏิกูลอื่น ๆ อีกหรือ
  10. เมื่อวัตถุทั้งหลายมีการบูรเป็นต้น และเมื่อข้าวสาลีหรือเครื่องปรุงรสทั้งหลายอันน่าชอบใจถูกใส่เข้าไปในปากและคายทิ้งออกมาแล้ว แม้พื้นดินก็จะกลายเป็นของสกปรกไป(เพราะสัมผัสกับสิ่งปฏิกูลนั้น )
  11. หากเจ้าไม่ยอมรับอยู่ซึ่งสิ่งปฏิกูล อันวางอยู่เฉพาะหน้านั้นไซร้ขอเจ้าจงโปรดพิจารณาดูซึ่งร่างกายแม้เหล่าอื่นที่น่ากลัว ถูกทิ้งอยู่แล้วในป่าช้าเถิด
  12. เมื่อผิวหนังถูกฉีกออกแล้ว ความกลัวอันมากมายย่อมเกิดขึ้นจากร่างกายใด เมื่อได้เข้าใจ(อย่างนี้) แล้ว ความพอใจยินดีในร่างกายนั้นแล จะเกิดขึ้นอีกได้อย่างไร
  13. น้ำหอมนั้นแม้ตลบอบอวลไปทั่วร่างกาย ก็เป็นสิ่งเกิดขึ้นมาจากไม้จันทน์นั่นเอง หาเกิดขึ้นมาจากสิ่งอื่นไม่เพราะเหตุอะไร เจ้าจึงถูกน้ำหอมอันเป็นของสิ่งอื่น ย้อมใจผูกติดอยู่ในร่างกายของคนอื่น ๆ ด้วยเล่า
  14. หากความกำหนัดใคร่ย่อมไม่เกิดขึ้นมาจากกลิ่นเหม็นของร่างกายตนไซร้ความปรารถนาพอใจในร่างกายนั้น จะพึงเกิดขึ้นหรือ เพราะเหตุอะไร ชาวโลกผู้ชอบใจอยู่ในสิ่งไร้ประโยชน์จึงประพรมอยู่ซึ่งร่างกายนั้นด้วยน้ำหอมอีกเล่า
  15. หากไม้จันทน์เป็นสิ่งมีกลิ่นหอมดีไซร้ในบรรดาน้ำหอมเหล่านั้น น้ำหอมเช่นไรเล่าได้เกิดขึ้นแล้วแก่ร่างกาย เพราะเหตุอะไร เจ้าจึงถูกน้ำหอมซึ่งเป็นของสิ่งอื่นย้อมใจอยู่ในร่างกายของผู้อื่นด้วยเล่า
  16. หากร่างกายอันเปลื่อยเปล่าปกคลุมอยู่ด้วยสิ่งปฏิกูล มีสภาพน่ากลัวโดยธรรมชาติเพราะมีผมและขนทั้งหลายยาว และเพราะฟันมีสีเหลือง(ซึ่งฉาบทาอยู่) ด้วยสิ่งสกปรกทั้งหลายไซร้
  17. เพราะเหตุอะไร เจ้าจึงประดับตกแต่งร่างกายนั้น ด้วยความเพียรพยายามอยู่อีกเล่าเหมือน(เจ้าตกแต่งอยู่) ซึ่งศัสตราวุธเพื่อฆ่าตนเอง ฉะนั้น โลกนี้สับสนเต็มไปด้วยคนบ้าวิกลจริตมากมาย ซึ่งได้เพียรประกอบกางงานเพื่อการหลอกลวงตัวเอง
  18. ได้ยินว่าความขยะแขยงมีอยู่แก่ท่าน เพราะเห็นซึ่งโครงกระดูกจำนวนมากมายในสุสาน(แต่) เจ้ากลับชื่นชมยินดี(ซึ่งโครงกระดูก) ในสุสานของหมู่บ้านอันเต็มไปด้วยโครงกระดูกที่เคลื่อนไหว(เดิน ) ได้
  19. และเมื่อเป็นเช่นนี้แม้สิ่งปฏิกูลนั้น ใคร ๆ ก็จักไม่อาจจะได้รับโดยปราศจากราคาค่าตอบแทน ความเหนื่อยยากเพื่อการได้รับความสำเร็จแห่งสิ่งปฏิกูลนั้น และความทุกข์ระทมในอบายภูมิทั้งหลายมีนรกเป็นต้น ก็จักเกิดขึ้น
  20. (หาก) เด็ก ๆ เป็นผู้ไม่สามารถจะได้รับ(สิ่งปฏิกูลนั้น) เขาจะพึงมีความสุขในวัยหนุ่มด้วยทรัพย์อะไรเล่า(เมื่อ) ความเป็นคนหนุ่มได้ผ่านเลยไปจากความใคร่เสียแล้ว ความแก่เฒ่าจะทำอะไรด้วยกามทั้งหลายได้เล่า
  21. บุคคลผู้ใคร่ในความชั่วบางคน เป็นผู้เหนื่อยหน่ายมาก เพราะการทำงานตลอดทั้งวัน เมื่อเขากลับมาสู่บ้านในตอนเย็นแล้ว ได้ล้มตัวลงนอน ประหนึ่งว่าพวกเขาได้ตายไปแล้วฉะนั้น
  22. คนอื่น ๆ ก็มีความทุกข์ทรมาน เพราะทุรนทุรายจากการอาศัยอยู่ในภายนอก(บ้าน) ด้วยการเดินทางไปกับเหล่าทหารกล้าทั้งหลาย พวกเขามีความต้องการบุตรและภรรยา(แต่) ก็ไม่ได้พบเห็นอยู่ซึ่งบุตรและภรรยาเป็นเวลานานหลายปี
  23. เพราะความโง่หลงในกาม ตนเองได้ขายทิ้งเสียแล้วซึ่งประโยชน์สุขใดแล เขาไม่ได้รับแล้วซึ่งประโยชน์สุขอันนั้น แต่ชีวิต(ของเขา) ได้ถูกนำไปแล้วโดยเปล่าประโยชน์เพราะการกระทำของคนอื่น
  24. เมื่อพวกเขามีร่างกายของตนเองถูกขายไปแล้ว เป็นผู้ทำการปรนนิบัติผู้อื่นตลอดกาลทุกเมื่อ แม้หมู่ภรรยาของเขาทั้งหลาย ก็จะคลอดบุตรในที่ทั้งหลายมีป่าไม้ทึบและพุ่มไม้หนาเป็นต้น
  25. ได้ยินว่าพวกเขาย่อมเข้าไปสู่สงครามอันเป็นที่เสี่ยงภัยของชีวิต เพื่อความเป็นอยู่(ที่ดีขึ้น ) เขาทั้งหลายซึ่งเป็นผู้โง่เขลาถูกความใคร่อยากปิดบังไว้แล้ว ย่อมเข้าถึงซึ่งความเป็นทาส เพื่อประโยชน์แห่งความรุ่งโรจน์(ของตนนั่นเอง)
  26. พวกคนเหล่าอื่นบางคน ผู้มีความใคร่ถูกขว้างไปแล้วบนเหล็กหลาว ย่อมถูกตัดอยู่(ซึ่งอวัยวะ) พวกเขาผู้ถูกไฟเผาอยู่และถูกฟาดฟันอยู่ด้วยหอกทั้งหลาย อันใคร ๆ ก็ย่อมสังเกตเห็นได้
  27. ขอเจ้าจงหยั่งรู้ถึงสิ่งที่เป็นประโยชน์และหาประโยชน์มิได้จากการได้รับ การป่องกันรักษาและความหวังที่พังพินาศไป(แห่งสรรพสิ่งทั้งหลาย) โอกาสแห่งความหลุดพ้นจากความทุกข์ยากในภพ ย่อมไม่มีเพราะความกระหายอยากต่อความเชื่อซึ่งจดจ่อเฉพาะอยู่ในทรัพย์สมบัตินั่นเอง
  28. เมื่อเป็นเช่นนี้ความทุกข์ยากอันมีความสุขพอใจเพียงเล็กน้อย ย่อมมีแก่คนผู้ใคร่ในกามทั้งหลายจำนวนมาก เหมือนการได้รับซึ่งเศษธุลีแห่งอาหาร(เพียงเล็กน้อย) มีอยู่แก่สัตว์ตัวนำไปอยู่ซึ่งเกวียน ฉะนั้น
  29. ความสำเร็จใดแม้แต่สัตว์ก็หาได้โดยยาก เพื่อประโยชน์แห่งเศษเสี้ยวของความสุขพอใจนั้น ความสำเร็จชั่วคราวอันบุคคลหาได้ยากยิ่งนักนั้น ก็จักถูกความชั่วร้ายทำลายไปเสีย
  30. การดำเนินไปสู่สิ่งไร้ประโยชน์อันเล็กน้อยนั้น ย่อมทำให้ตกไปสู่อบายภูมิมีนรกเป็นต้นได้โดยแน่แท้บุคคลได้กระทำสิ่งใดไว้แล้ว เพื่อประโยชน์แห่งร่างกาย(ของตน) สิ่งนั้นย่อมก่อให้เกิดความทุกข์ยาก ตลอดกาลทั้งปวง
  31. การตรัสรู้ย่อมมีได้ด้วยส่วน(เล็กน้อย) แห่งความเพียรพยายาม มาโดยตลอดหลายร้อยล้านปีจากความทุกข์ยากนั้น ความทุกข์อันยิ่งใหญ่ย่อมเกิดมาจากความทุกข์ที่เคยประพฤติไว้แล้ว และการตรัสรู้นั้นก็จักไม่เกิดขึ้นแก่ผู้ใคร่ในกามทั้งหลาย
  32. เมื่อบุคคลได้ระลึกถึงความทุกข์ยากในอบายภูมิมีนรกเป็นต้นแล้ว ศัสตราวุธ ยาพิษ ความเร่าร้อน การตกลงในหุบเหวและหรือ (ความทุกข์ของ) หมู่สัตว์ทั้งหลาย ย่อมไม่ถึงซึ่งข้อเปรียบเทียบได้(กับความทุกข์ทรมาน) ของคนผู้ใคร่ในกามทั้งหลาย
  33. เมื่อบุคคลได้สลัดจากกามทั้งหลายเช่นนี้แล้ว ก็จงทำความยินดีปรีดาให้เกิดขึ้นในวิเวก ในภาคพื้นแห่งป่าอันสงบทั้งหลาย ซึ่งว่างเปล่าจากการทะเลาะวิวาทและจากความเหนื่อยยากเถิด
  34. บุคคลผู้มั่งคั่งร่ำรวยทั้งหลาย ย่อมดำเนินไปบนชั้นพื้นแผ่นหินทั้งหลาย ซึ่งเย็นฉ่ำไปด้วยแสงจันทร์และกลิ่นจันทน์เป็นสถานที่น่ารื่นรมย์กว้างขวางดุจพระราชวัง แต่บุคคลผู้ถูกพัดเชยอยู่ด้วยลมในป่าอันเงียบสงบและอ่อนโยน ก็จักดำเนินไปและพิจารณาอยู่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ผู้อื่น
  35. บุคคลเมื่อได้ท่องเที่ยวไปในที่ใดที่หนึ่ง(คือ) ที่เรือนอันว่างเปล่าที่โคนต้นไม้หรือในถ้ำทั้งหลาย ตลอดกาลที่ตนปรารถนาแล้ว ได้เป็นผู้หลุดพ้นจากความทุกข์ทรมานแห่งการยึดติดและการรักษาป่องกัน เว้นจากความฟุ่งซ่านรำคาญใจแล้ว ก็จักเที่ยวไปได้ตามความปรารถนา
  36. บุคคลผู้มีความประพฤติตามความต้องการของตนเอง ที่พักอาศัย(ของเขา) ก็มิได้ผูกมัดอยู่กับใคร ๆ เขาเสวยอยู่ซึ่งความพอใจและความสุขอันใด ความพอใจและความสุขอันนั้น ย่อมเป ็นสิ่งหาได้ยากยิ่งแม้แต่พระอินทร์
  37. บุคคลผู้ได้พิจารณาใคร่ครวญซึ่งความสงบเงียบ จากการอบรมคุณธรรมคือความวิเวกด้วยอาการทั้งหลายมีอาการเช่นนี้เป็นต้นแล้ว ก็พึงทำโพธิจิตให้เจริญขึ้นเถิด
  38. ในเบื้องต้น ด้วยการพิจารณาไตร่ตรองเช่นนี้แล้ว บุคคลพึงยังความเท่าเทียมกันระหว่างตนกับคนอื่นให้เกิดขึ้นเถิด สรรพสัตว์ผู้มีความทุกข์และความสุขอันเสมอภาคกันทั้งปวงจงเป็นผู้อันข้าพเจ้าควรรักษาคุ้มครองไว้ประหนึ่งว่า(คุ้มครองอยู่ซึ่ง) ตัวข้าพเจ้าเองฉะนั้น
  39. ด้วยการแบ่งแยกออกแห่งอวัยวะมีมือเป็นต้น บุคคลควรคุ้มครองรักษาซึ่งร่างกายอันมีลักษณะแตกต่างกันไปมากมาย ดุจดังว่ามันมีอยู่เพียงชิ้นเดียวฉะนั้น เช่นเดียวกันกับโลกซึ่งประกอบอยู่ด้วยความทุกข์และความสุข ทั้งที่ถูกแบ่งแยกแล้วและมิได้แบ่งแยกแล้ว เขาก็ควรรักษาไว้ดุจเดียวกันนั่นแล
  40. หากว่าความทุกข์ของข้าพเจ้าย่อมไม่เบียดเบียนในร่างกายทั้งหลายเหล่าอื่นไซร้แม้กระนั้น ความทุกข์นั่นเอง เป็นสิ่งที่อดทนไม่ได้เพราะการยึดมั่นผูกพันในตัวตนของข้าพเจ้า
  41. เช่นเดียวกัน หากความทุกข์ของคนอื่น อันตัวข้าพเจ้าไม่สามารถจะเข้าใจได้ไซร้แม้กระนั้น ความทุกข์นั้นก็ย่อมเป ็นสิ่งอดทนไม่ได้เพราะความยึดติดในตัวตนของเขานั่นเอง
  42. ความทุกข์ของคนอื่น ควรถูกข้าพเจ้าทำลายเสีย เพราะความทุกข์นั้นเปรียบเสมือนเป็นความทุกข์ของตัวข้าพเจ้าเอง แม้คนเหล่าอื่นก็ควรถูกข้าพเจ้าอนุเคราะห์เพราะความเป็นสัตว์(ของพวกเขานั้น ) ย่อมเป ็นดุจเดียวกับความเป็นสัตว์ของข้าพเจ้า
  43. ในกาลใด ความสุขอันเสมอภาคกัน ย่อมเป็นสิ่งน่าปรารถนาน่าใคร่ทั้งของข้าพเจ้าและของคนเหล่าอื่น ในกาลนั้น คุณพิเศษอะไรมีอยู่แก่ตัวข้าพเจ้าเล่าเหตุใด ข้าพเจ้าจึงได้บากบั่นแสวงหาความสุขไว้ในตนเองเพียงฝ่ายเดียวด้วยเล่า
  44. ในกาลใด ความกลัวและความทุกข์ย่อมไม่เป็นที่รักทั้งของข้าพเจ้าและคนอื่น ๆ ในกาลนั้น คุณพิเศษอะไรมีอยู่แก่ตัวข้าพเจ้าเล่าเหตุใด ข้าพเจ้าจึงรักษาดูแลอยู่เฉพาะตนเอง แต่ไม่ดูแลรักษาคนอื่น ๆ ด้วยเล่า
  45. หากคนอื่น ไม่ถูกข้าพเจ้ารักษาคุ้มครองอยู่เพราะเหตุว่าข้าพเจ้ามิได้ถูกความทุกข์ของเขาเบียดเบียนแล้วไซร้เหตุใด ข้าพเจ้าจึงยังรักษาคุ้มครองอยู่ซึ่งตัวข้าพเจ้าเองนั้น จากการเบียดเบียนอันเกิดมาจากทุกข์ของร่างกายในอนาคตด้วยเล่า
  46. ความคิดเช่นนี้ว่าข้าพเจ้านั่นเอง ย่อมมีอยู่แม้ในกาลนั้น (1) ดังนี้ย่อมเป็นความคิดที่หลงผิดเพราะว่าคนอื่นนั่นเองได้ตายไปแล้ว คนอื่นเท่านั้นย่อมเกิดขึ้น

1 อนาคตกาล

 

  1. หากความทุกข์ใดถูกคนอื่นนั่นแลรักษาคุ้มครองไว้แล้ว ความทุกข์นั้นย่อมชื่อว่าเป็นความนึกคิดของเขาเท่านั้น ความทุกข์ของเท้ามิใช่เป็นความทุกข์ของมือ ดังนั้น เพราะเหตุไร ความทุกข์นั้นย่อมถูกมือนั้นคุ้มครองไว้ด้วยเล่า
  2. หากว่าความทุกข์ซึ่งมิได้มีความสัมพันธ์กันนั้นย่อมเกิดขึ้นมาจากความอหังการไซร้ความทุกข์อันไม่มีความสัมพันธ์กันทั้งกับตัวข้าพเจ้าและคนอื่นนั้น พึงถูกล้มเลิกเสียตามพลังอำนาจ(ของมัน ) เถิด
  3. ความสืบต่อและการประชุมกัน(แห่งความทุกข์) ย่อมเป็นสิ่งไม่จริงแท้เหมือนกับโลกและกองทัพ ฉะนั้น ความทุกข์มีอยู่แก่ผู้ใด ผู้นั้นย่อมไม่มีเพราะเหตุนี้ความเป็นตัวตนของเขานั้น จักมีแก่ใครได้เล่า
  4. ความทุกข์ทั้งปวง อันปราศจากการแบ่งแยก ย่อมเป็นสิ่งหาเจ้าของมิได้(เพราะเจ้าของทุกข์ทั้งหลาย) เป็นผู้ถูกห้ามแล้ว จากความทุกข์นั่นเอง ข้อจำกัดในเรื่องนี้ถูกใครกำหนดไว้แล้วหรือ
  5. ทำไมความเศร้าโศกต้องถูกยับยั้ง และหากไม่มีข้อขัดแย้งใด ๆ ตั้งอยู่บนความคิดนี้และหากมันจะได้รับการยับยั้ง ดังนั้น มันควรถูกกระทำอย่างสิ้นเชิง ไม่เพียงเฉพาะภายในตัวตนเท่านั้น แต่(ควรถูกกระทำการหยุดยั้ง ) ในทุก ๆ ที่
  6. หากความทุกข์จำนวนมาก ย่อมเกิดขึ้นมาจากความเมตตากรุณาไซร้เพราะเหตุไร บุคคลจึงให้ความทุกข์นั้นเกิดขึ้นอยู่โดยพลการเล่าเมื่อได้กำหนดเอาซึ่งความทุกข์ของโลกแล้วความทุกข์อันเกิดจากเมตตากรุณานี้จะมีมากขึ้นได้อย่างไร
  7. หากความทุกข์ของสรรพสัตว์จำนวนมาก ย่อมสูญสิ้นไปเพราะความทุกข์ของคน ๆ เดียวไซร้ความทุกข์นั้นพึงถูกความเมตตากรุณาทำให้เกิดขึ้นทั้งแก่ตนเองและผู้อื่นเถิด
  8. ด้วยเหตุนี้พระสุปุษปจันทรโพธิสัตว์เจ้าผู้รู้อยู่ซึ่งภัยพิบัติอันเกิดจากพระราชามิได้ขจัดแล้วซึ่งความทุกข์ของตนเอง เพื่อการเสื่อมสิ้นไปแห่งความทุกข์ทั้งหลายของสัตว์จำนวนมากมาย
  9. เมื่อเป็นเช่นนี้(พระโพธิสัตว์ผู้ทรงเมตตานั้น) ซึ่งมีสันดานอันอบรมแล้ว เป็นผู้ใคร่ยินดีในความสงบแห่งความทุกข์ของผู้อื่น ย่อมกระโดดลงไปในนรกอเวจีประหนึ่งว่าฝูงหงส์(บินลงไปอยู่) สู่สระบัว ฉะนั้น
  10. ทะเลแห่งความยินดีปราโมทย์เหล่านั้นใด มีอยู่ในสัตว์ทั้งหลายซึ่งถูกปลดปล่อยอยู่(การได้รับความสงบของสัตว์เหล่านั้น) ด้วยทะเลแห่งความยินดีปราโมทย์เหล่านั้นนั่นแลเป็นสิ่งที่เพียงพอแล้วมิใช่หรือ ความสงบอะไรย่อมมีด้วยสภาพซึ่งไร้อารมณ์ความรู้สึกอันบริสุทธ์แห่งความหลุดพ้น (ของพระอรหันต์และพระปัจเจกพุทธเจ้า) อีกเล่า
  11. ดังนั้น เมื่อได้บำเพ็ญซึ่งประโยชน์แก่คนอื่นแล้ว ขอความมัวเมาความหยิ่งทะนงตนและความปรารถนาในผลแห่งวิบากกรรม อย่าพึงมี(แก่พระโพธิสัตว์ทั้งหลาย) เถิด แต่ขอความปรารถนาในประโยชน์ของผู้อื่นเพียงอย่างเดียวเท่านั้น พึงเกิดขึ้นเถิด
  12. เพราะฉะนั้น(หากว่า) ข้าพเจ้าคุ้มครองอยู่ซึ่งตัวข้าพเจ้าเอง จากคำตำหนิว่าร้ายแม้เล็กน้อย ฉันใด ข้าพเจ้าก็ย่อมกระทำซึ่งความคิดเพื่อการปกป่องคุ้มครอง และความคิดอันประกอบด้วยเมตตาในสัตว์เหล่าอื่น ฉันนั้นเหมือนกัน
  13. เพราะความเคยชิน ความเข้าใจในเรื่องราวอันหาความจริงมิได้(จึงมีอยู่แก่ข้าพเจ้าว่า)ข้าพเจ้าเท่านั้น มีอยู่ในหยดน้ำอสุจิและเลือดซึ่งเป็นของ ๆ คนอื่นเป็นต้น
  14. เมื่อเป็นเช่นนี้เพราะเหตุไร ข้าพเจ้าจึงไม่ยึดเอาซึ่งร่างกาย อันเป็นของ ๆ คนอื่นเป็นต้นให้เป็นของตัวข้าพเจ้าเองเล่าเพราะมันมิได้ลำบากอะไรเลย(ที่จะเข้าใจว่า) ความเป็นคนอื่นดำรงอยู่แล้วในร่างกายของตนเองเท่านั้น
  15. เมื่อได้เข้าใจชัดซึ่งตนเองว่าเป็นไปกับด้วยโทษ และ(เข้าใจ) คนเหล่าอื่นว่าเป็นผู้เต็มไปด้วยทะเลแห่งคุณ(อันมากมาย) แล้ว บุคคลก็ควรทำการสละความยึดมั่นในตัวเองและการยอมรับซึ่งคนอื่นให้เจริญขึ้นเถิด
  16. อวัยวะทั้งหลายมีมือเป็นต้น เป็นสิ่งอันบุคคลทะนุถนอมหวงแหนแล้ว เพราะความเป็นอวัยวะของร่างกาย ฉันใด เพราะเหตุอะไร สัตว์ทั้งหลายจึงไม่ถูกทะนุถนอมหวงแหนไว้ด้วยความเป็นอวัยวะของโลก ฉันนั้นด้วยเล่า
  17. การคิดคำนึงถึงตนเอง ย่อมเกิดขึ้นในร่างกายของตนซึ่งมีสภาวะไร้ตัวตนนี้ด้วยความคุ้นเคย ฉันใด เพราะเหตุอะไร ความคิดถึงตัวตนจึงไม่เกิดขึ้นอยู่ในสัตว์แม้เหล่าอื่นด้วยความคุ้นเคย ฉันนั้นด้วยเล่า
  18. เมื่อได้ทำคุณประโยชน์แก่คนอื่นเช่นนี้แล้ว ขอความมัวเมาและความหยิ่งทะนงตนอย่าพึงเกิดขึ้นเถิด และเมื่อได้ทำตนเองให้อิ่มหนำสำราญแล้ว ความหวังในผลบุญก็จักไม่เกิดขึ้น(แก่เขา)
  19. เพราะฉะนั้น(เมื่อ) เจ้าปรารถนาอยู่เพื่อการปกป่องคุ้มครองซึ่งตนเอง จากสิ่งอันไม่น่าพอใจยินดีและจากความเศร้าโศกเป็นต้น ฉันใด ขอความคิดในการปกป่องรักษาและความคิดอันประกอบด้วยเมตตาพึงถูกเจ้าปฏิบัติไว้ในโลก ฉันนั้น
  20. ด้วยว่าพระอวโลกิเตศวร ผู้ทรงเป็นที่พึ่ง ได้ทรงอธิษฐานประสาทพรซึ่งพระนามของพระองค์เอง เพื่อการกำจัดซึ่งความกลัวของบุคคลผู้ประหม่าเหนียมอายอยู่ในหมู่บริษัท
  21. บุคคลไม่พึงก้าวกลับจากความยากลำบาก เพราะพลังอำนาจแห่งความคุ้นเคย เหตุใดเพราะเหตุนั้น ความสุขชื่นบานจึงไม่มีอยู่แก่เขาซึ่งเป็นผู้หวาดกลัวจากกการได้ฟัง(เสียงอันน่ากลัวนั้น )
  22. ผู้ใดย่อมปรารถนาการปกป่องคุ้มครองตนเองและคนเหล่าอื่น โดยเร็วพลันไซร้ผู้นั้นพึงประพฤติซึ่งสิ่งเร้นลับอันสูงสุด คือการแลกเปลี่ยนตนเองกับคนอื่น
  23. ความกลัวย่อมเกิดขึ้นจากความกลัวแม้เล็กน้อย เพราะความรักอันยิ่งในตัวตนใด ใครจะไม่พึงเกลียดชังชึ่งตัวตนนั้น อันเป็นผู้นำมาซึ่งความกลัว ประหนึ่งว่าหมู่ศัตรูนำมาอยู่ฉะนั้นเล่า
  24. บุคคลใดย่อมฆ่าซึ่งนก ปลาและกวางทั้งหลาย และดำรงความเป็นผู้ต่อต้านอยู่ด้วยความปรารถนาจะทำการปกป่องรักษาซึ่งความเจ็บป่วย ความหิวและความกระหายอยากเป็นต้น (ของสัตว์อื่น ๆ)
  25. บุคคลใดพึงฆ่าเสียซึ่งบิดาและมารดาทั้งสอง เพราะเหตุแห่งลาภและเกียรติยศชื่อเสียงและพึงลักขโมยซึ่งสมบัติของพระรัตนตรัย ด้วยเหตุนี้บุคคลนั้นพึงถูกไฟเผาไหม้อยู่ในนรกอเวจี(ทีเดียว)
  26. ใครกันเล่าซึ่งเป็นผู้ฉลาด จะพึงปรารถนาพึงปกป่องและพึงบูชาซึ่งตัวตนนั้น ใครกันเล่าจะไม่พึงพิจารณาเห็นตัวตนนั้นว่าเป็นประดุจศัตรูและใครกันเล่าจะพึงเคารพนับถือซึ่งตนเองนั้นอีก
  27. ความเป็นปีศาจย่อมมีแก่เขาเพราะ(คิดถึง) ประโยชน์ตนเองว่าหากข้าพเจ้าให้อยู่ข้าพเจ้าจะบริโภคใช้สอยซึ่งอะไรเล่าและความเป็นพระราชาแห่งเทพย่อมมีอยู่แก่เขาเพราะคิดถึงประโยชน์ของผู้อื่นว่าหากข้าพเจ้าจะบริโภค ข้าพเจ้าให้อยู่ซึ่งอะไรบ้างเล่า
  28. เมื่อได้เบียดเบียนซึ่งผู้อื่นเพื่อประโยชน์ของตนเองแล้ว บุคคลย่อมถูกเผาไหม้อยู่ในอบายภูมิทั้งหลายมีนรกเป็นต้น หากได้เบียดเบียนซึ่งตนเองเพื่อประโยชน์ของผู้อื่นแล้วเขาจักมีความเจริญรุ่งเรือง(โดยแท้)
  29. ทุคติความต่ำทรามและความโง่เขลาย่อมมีด้วยความปรารถนาเพื่อยกย่องตนเอง(ให้สูงเด่นขึ้น) เมื่อได้เปลี่ยนแปลงซึ่งความปรารถนาไปในแนวทางอื่นนั้นแล สุคติเกียรติยศชื่อเสียงและความรู้ก ็จักมีขึ้นได้
  30. เมื่อปรนนิบัติรับใช้ซึ่งคนอื่นเพื่อประโยชน์ของตน บุคคลย่อมประสบกับความตกต่ำมีความเป็นทาสเป็นต้น แต่หากได้ปรนนิบัติรับใช้ซึ่งคนอื่นเพื่อประโยชน์ของผู้อื่น เขาย่อมประสบกับความรุ่งเรืองมีความเป็นนายเป็นต้น
  31. เพราะความปรารถนาซึ่งความสุขแก่ตนเอง ความทุกข์ทั้งหลายทั้งปวงจึงมีอยู่ในโลกเพราะความปรารถนาซึ่งความสุขแก่ผู้อื่น ความสุขทั้งปวงจึงมีอยู่ในโลก
  32. ก็แต่ว่าประโยชน์อะไรย่อมมีด้วยการกล่าวถ้อยคำอันมากมายเล่าบุคคลพึงพิจารณาซึ่งข้อแตกต่างนี้เถิด(กล่าวคือ) ความปรารถนาซึ่งประโยชน์ของตนย่อมมีแก่คนพาล ส่วนการบำเพ็ญซึ่งประโยชน์เพื่อผู้อื่น จักมีแด่พระมุนีเจ้า
  33. ด้วยบุคคลมิได้กระทำซึ่งการแลกเปลี่ยนความสุขของตนเองกับด้วยความทุกข์ของผู้อื่นความสำเร็จและการบรรลุพุทธภาวะจึงไม่มีอยู่ก็แม้ความสุขในสังสารวัฏจักมีแต่ที่ไหนได้เล่า
  34. ประโยชน์อันมองเห็นได้ในโลก(นี้) ยังไม่สำเร็จผลอยู่เพียงใด บุคคลก็ไม่ควรคำนึงถึงโลกหน้าเพียงนั้น เพราะหากกรรมกรมิได้เป็นผู้กระทำซึ่งการรับใช้ไซร้นายจ้างก็จักไม่ให้ซึ่งค่าจ้าง(แก่เขา)
  35. เมื่อได้สละซึ่งความเบิกบานใจในความสุขทั้งที่มองเห็นได้และเห็นไม่ได้อันเป็นบ่อเกิดแห่งความสุขของกันและกันแล้ว บุคคลผู้โง่เขลาทั้งหลายย่อมยึดเอาซึ่งความทุกข์อันน่ากลัวจากความทุกข์ของกันและกัน
  36. อันตรายเหล่าใดมีอยู่ในโลก ความทุกข์และภัยเหล่าใดเป็นไปอยู่(ในโลก) อันตรายความทุกข์และภัยเหล่านั้นทั้งหมด ย่อมเกิดขึ้นเพราะการยึดมั่นในตัวตน เพราะเหตุอะไรอันตรายเป็นต้นนั้น จึงเกิดขึ้นอยู่ด้วยการยึดมั่นของข้าพเจ้านั้นเล่า
  37. เมื่อมิได้ละวางซึ่งตัวตนแล้ว บุคคลก็ย่อมไม่อาจสลัดซึ่งความทุกข์ไปได้ดุจเดียวกัน เมื่อมิได้สลัดทิ้งซึ่งไฟแล้ว บุคคลก็ไม่อาจจะสลัดความเร่าร้อนไปได้
  38. เพราะฉะนั้น เพื่อประโยชน์แห่งการยังทุกข์ของตัวข้าพเจ้าให้สงบ และเพื่อความสงบไปแห่งความทุกข์ของผู้อื่น ข้าพเจ้าจักอุทิศมอบซึ่งตัวข้าพเจ้าแก่คนเหล่าอื่น และข้าพเจ้าก็จักยึดถือคนอื่น ๆ เหมือนดั่งตัวข้าพเจ้าเองฉะนั้น
  39. แน่ะจิต เจ้าพึงกระทำซึ่งความแน่วแน่เถิดว่าข้าพเจ้านั้นเป็นผู้มีความผูกพันอย่างดีกับด้วยคนอื่น ๆ บัดนี้เมื่อได้ปลดเปลื้องซึ่งประโยชน์แก่สัตว์ทั้งปวงแล้ว ขอเจ้าอย่าพึงคิดถึงซึ่งเรื่อง อื่น ๆ เลย
  40. การเห็นแก่ประโยชน์ของตนเป็นต้น ด้วยอวัยวะทั้งหลายมีจักษุเป็นต้น อันเป็นของพวกเขาเหล่านั้น ย่อมเป็นสิ่งไม่เหมาะสม การปฏิบัติด้วยอวัยวะทั้งหลายมีมือ เป็นต้นซึ่งเป็นของ ๆ คนเหล่าอื่น ย่อมเป ็นสิ่งไม่เหมาะสม(เช่นกัน )
  41. เพราะฉะนั้น เมื่อเจ้าเป็นคนอื่นจากสัตว์ทั้งหลายแล้ว เจ้าเห็นอยู่ซึ่งอวัยวะใด ๆ ในร่างกายนั้น เจ้าก็จงประพฤติให้เป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่คนเหล่าอื่น แม้จะเป็นผู้ทำลายอยู่ซึ่งอวัยวะนั้น ๆ จากร่างกาย (ของเจ้า) ก็ตามเถิด
  42. เมื่อได้กระทำซึ่งตนเองไว้ในฐานะทั้งหลายมีฐานะอันต่ำต้อยถ่อมตน เป็นต้น และ(กระทำ) ซึ่งความเป็นคนอื่นไว้ในตนเองแล้ว บุคคลพึงทำความริษยาและความหยิ่งทะนงตนให้เกิดขึ้นด้วยจิตใจอันมั่งคงเถิด
  43. คนอื่นนั้นย่อมมีเกียรติยศ แต่ข้าพเจ้าไม่มีข้าพเจ้าเป็นผู้ไม่มีทรัพย์ดั่งเช่นเขาเขาถูกสรรเสริญอยู่แต่ข้าพเจ้ากลับถูกนินทาอยู่ข้าพเจ้าเป็นผู้มีทุกข์ส่วนเขามีความสุข
  44. ข้าพเจ้ากระทำอยู่ซึ่งการงานทั้งหลาย แต่เขาพักผ่อนอยู่อย่างสุขสบาย ได้ยินว่าเขาเป็นใหญ่ในโลก ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้ต่ำต้อยและไร้ซึ่งคุณธรรม
  45. บุคคลควรกระทำเช่นไรกับคนผู้ไร้ซึ่งคุณธรรมเล่าขอตัวตนของบุคคลทั้งปวงพึงเป็นผู้ประกอบด้วยคุณธรรมเถิด ข้าพเจ้าเป็นผู้ต่ำต้อยในบรรดาหมู่ชนที่มีอยู่และข้าพเจ้าก็เป็นผู้ประเสริฐสุดในบรรดาหมู่ชนที่มีอยู่(เช่นเดียวกัน )
  46. ความเสื่อมทั้งหลายมีความวิบัติไปแห่งศีลและทรรศนะ เป็นต้น ย่อมเกิดขึ้นเพราะอำนาจของกิเลส หาเกิดขึ้นเพราะอำนาจของข้าพเจ้าไม่ข้าพเจ้าจักเป็นผู้อันใคร ๆ พึงเยียวยาได้ตามความสามารถ ข้าพเจ้าขอยอมรับแม้ซึ่งความทุกข์ยากทั้งหลาย
  47. หากว่าข้าพเจ้าเป็นผู้อันเขาพึงเยียวยาได้แล้วไซร้เพราะเหตุไร เขาจึงดูหมิ่นเหยียดหยามซึ่งข้าพเจ้าอยู่อีกเล่าประโยชน์อะไรด้วยคุณธรรมของเขาจักมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเล่าเพราะว่าตัวตน(ของเขา) ก็ได้ทำการสละซึ่งคุณธรรมนั้นเสียแล้ว
  48. ขอความกรุณาของเขาพึงมีในหมู่ชนผู้อาศัยอยู่ในปากแห่งความชั่วร้ายในทุคติเถิด ด้วยความยึดติดอยู่ในคุณธรรม(ของเขา) เขาจักปรารถนาชัยชนะต่อนักปราชญ์ทั้งหลายในภายหลัง
  49. เพราะฉะนั้น เมื่อได้พิจารณาซึ่งตนเองว่ามีความเสมอภาคเท่าเทียม(กับคนอื่น) แล้วบุคคลพึงพอกพูนซึ่งสิ่งอันยอดเยี่ยมให้แก่ตนเองเถิด เขาพึงทำลาภและเกียรติยศชื่อเสียงให้สำเร็จประโยชน์แก่ตนเองเถิด แม้เพราะการทะเลาะวิวาทกันก็ตามที
  50. อนึ่ง ขอคุณธรรมทั้งหลายของข้าพเจ้าพึงประจักษ์แจ้งในที่ทั้งปวงในโลก อีกอย่างหนึ่งคุณธรรมทั้งหลายเหล่าใดมีอยู่แก่เขา(ขอให้) คุณธรรมเหล่านั้นไม่ถูกเขาได้ยินได้ฟังอยู่ในทุก ๆ ที่
  51. ขอโทษทั้งหลายของข้าพเจ้าพึงถูกปกปิดไว้ขอความเคารพบูชาพึงมีแก่ข้าพเจ้าเถิด แต่ไม่ควรมีแก่เขาในวันนี้ขอลาภทั้งหลายพึงเป็นสิ่งอันข้าพเจ้าหาได้โดยง่ายเถิด ข้าพเจ้าเป็นผู้อันใคร ๆ บูชาอยู่แล้ว ส่วนเขาไม่เคยถูกบูชา
  52. ข้าพเจ้าทั้งหลายเห็นอยู่ซึ่งเขาผู้ประพฤติไม่ดีถูกคนทั้งปวงหัวเราะเยาะและนินทาอยู่แล้วด้วยความสุขยินดีโดยกาลช้านาน ดันนั้น เขาพึงเป็นผู้มีความอ่อนน้อมถ่อมตนเถิด
  53. ได้ยินว่าการแข่งขันกับด้วยข้าพเจ้ามีอยู่แก่บุคคลผู้เลวทรามแม้นั้น การศึกษาของเขามีอยู่ประมาณเท่าไรเล่าปัญญารูป(อันงดงาม) ตระกูลและทรัพย์(มีอยู่แก่เขาบ้างหรือ )
  54. เมื่อได้ฟังซึ่งคุณของตัวข้าพเจ้าอย่างนี้แล้ว ขอความมากมายแห่งเกียรติยศและความไม่ถือตัวตน(ของข้าพเจ้า) พึงเกิดขึ้น(ให้ยิ่งกว่านี้) เถิด ผมที่ชูชันขึ้นแล้ว ย่อมเป็นสิ่งน่าตื่นเต้นเร้าใจ ข้าพเจ้าจักเสวยบริโภคซึ่งความรื่นเริงใจด้วยความสุขนั้น
  55. แม้หากว่าลาภพึงมีแก่เขาไซร้ลาภนั้นก็จักถูกข้าพเจ้าทั้งหลายยึดเอาแล้วด้วยกำลังแต่หากเขากระทำอยู่ซึ่งการงานนอกนี้แก่ข้าพเจ้าทั้งหลายไซร้พวกข้าพเจ้าก็จักให้(ซึ่งลาภนั้น ) แก่เขา(เพื่อ ) ยังชีวิตให้ดำเนินไปได้
  56. เขาจักเป็นผู้สูญสิ้นไปจากความสุข(ของเขา) และจักถูกผูกมัดอยู่ด้วยความทุกข์ทรมานของพวกข้าพเจ้าในกาลทุกเมื่อ เพราะเขานั่นเอง พวกข้าพเจ้าทั้งปวงจึงมีความทุกข์ยากในสังสารวัฏ เป็นเวลาร้อย ๆ ชาติ
  57. กัลป์อันนับประมาณมิได้ได้ผ่านพ้นไปแล้ว ความอยากรู้อยากเห็นซึ่งประโยชน์ของตนยังมีอยู่แก่เจ้า(แต่) ความทุกข์เท่านั้นที่เจ้าได้รับแล้วด้วยความพากเพียรอันยิ่งใหญ่
  58. ดังนั้น การไม่ได้พิจารณาไตร่ตรองในการเปลี่ยนแปลงเหล่านั้น ตามคำร้องขอของข้าพเจ้าจักมีอยู่(แต่) เจ้าจักเห็นซึ่งคุณเหล่านั้นในภายหลัง เพราะว่าคำสอนของท่านผู้รู้ย่อมเป็นคำจริง (เสมอ)
  59. หากกรรมที่เจ้าได้สร้างไว้แล้วในกาลก่อนนั้น จักมีขึ้นแล้วไซร้เมื่อได้ปลดปล่อยซึ่งความสุขอันยอดเยี่ยม อันเป็นของพระพุทธเจ้าแล้ว สภาพความเป็นอยู่เช่นนี้ก ็จักไม่มี
  60. เพราะฉะนั้น เจ้าได้กระทำแล้วซึ่งอหังการ (1) ไว้ในหยดแห่งน้ำอสุจิและเลือดอันเป็นของคนอื่น ๆ ฉันใด เจ้าก็จงทำอหังการนั้นให้เจริญขึ้นในคนเหล่าอื่นด้วยเถิด ฉันนั้น

1 ความยึดมั่นในตนเอง, การสำนึกว่าฉันมีตัวตน

 

  1. เจ้าผู้เป็นจารชนของคนอื่น เห็นอยู่ซึ่งสิ่งใด ๆ ในร่างกายนั้น ขอเจ้าจงกระทำซึ่งสิ่งนั้น ๆนั่นแลให้เป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่คนเหล่าอื่น เพื่อประโยชน์แห่งการลักขโมย(ของเขา)
  2. ตัวตนนี้ย่อมมีความสุข(ในขณะที่) คนอื่นมีความทุกข์มันเป็นผู้สูงส่ง แต่คนอื่นต่ำต้อยคนอื่นย่อมกระทำ(ซึ่งการงาน) แต่มันหากระทำไม่เพราะฉะนั้น ขอเจ้าจงกระทำซึ่งความอิจฉาในตัวตน(ของเจ้านั้น ) เถิด
  3. เจ้าพึงแยกตัวตนออกจากความสุข และพึงประกอบรวม(ซึ่งตัวตนนั้นไว้) ในความทุกข์ของคนอื่นเถิด เจ้าควรพิจารณาไตร่ตรองซึ่ง(ผล) แห่งความผิดพลาดของตัวเจ้านั้นว่าตัวตนของเจ้านี้กระทำอยู่ซึ่งอะไรในห้วงเวลานั้นเล่า
  4. เจ้าพึงยังโทษที่ผู้อื่นได้กระทำไว้แล้วให้ตกไปบนศีรษะของตัวเจ้านั้นเถิด และพึงประกาศซึ่งโทษแม้เล็กน้อยของตัวเจ้าเองแด่พระมุนีเจ้าผู้ทรงยิ่งใหญ่เถิด
  5. เจ้าจงกระทำซึ่งเกียรติยศของตัวเจ้าเองนั้นให้หมองมัว ด้วยการกล่าวถึงเกียรติยศอันสูงส่งของคนอื่น และเจ้าพึงยังตัวตนนั้นให้เพียรพยายามในการปรนนิบัติรับใช้ซึ่งสัตว์ทั้งหลายประหนึ่งว่าเป็นทาสผู้ต่ำต้อย ฉะนั้น
  6. (ตัวตนของเจ้านั้น) ไม่ควรถูกสรรเสริญด้วยส่วนอันเล็กน้อยแห่งคุณที่จรมาเพราะว่าตัวตนนั้นเป็นผู้เต็มไปด้วยโทษ คุณของมันไม่พึงถูกใคร ๆ รู้อยู่ฉันใด เจ้าจงกระทำฉันนั้นเถิด
  7. โดยสรุป สิ่งเลวร้ายใด ๆ อันเจ้าได้ประทุษร้ายแล้วในคนเหล่าอื่นเพื่อประโยชน์ของตัวเอง ขอเจ้าจงทำสิ่งเลวร้ายนั้น ๆ ให้ตกไปในตัวเจ้าเอง เพื่อประโยชน์ของสรรพสัตว์เถิด
  8. บุคคลไม่ควรมอบอำนาจให้แก่ตัวตนนั้น ซึ่งเป็นผู้มักคุยโม้โอ้อวด บุคคลผู้มีความละอายมีความกลัวและ(ชอบ) ปกปิดซ่อนเร้น พึงทำตัวตนนั้นให้สงบเสงี่ยม เหมือนเจ้าสาว(ผู้แต่งงาน) ใหม่เถิด
  9. เจ้าจงกระทำอย่างนี้จงตั้งมั่นอย่างนี้สิ่งนี้เจ้าไม่ควรกระทำ(ตัวตนของเจ้านั้น ) พึงกระทำซึ่งความปรารถนาอย่างนี้เขาควรถูกลงโทษในการล่วงละเมิดบาปนั้น
  10. แน่ะจิต แม้เมื่อเจ้าถูกกล่าวสอนอยู่เช่นนี้หากเจ้าจักไม่กระทำ(การเปลี่ยนแปลง) ซึ่งจิตนี้ไซร้ข้าพเจ้าจักลงโทษซึ่งเจ้านั่นแล เพราะเจ้านั่นเอง โทษทั้งหลายทั้งปวงจึงได้มีที่พึ่งที่อาศัย
  11. เจ้าจงไป ณ ที่ไหนเล่าข้าพเจ้าได้เห็นความหยิ่งทะนงตนทั้งหมดแล้ว ข้าพเจ้าจักทำลาย(ซึ่งความทะนงตนนั้น) ของเจ้าเสีย ข้าพเจ้าถูกเจ้าทำลายแล้วในกาลใด กาลนั้นย่อมมีในครั้งก่อน(เท่านั้น )
  12. แม้ในบัดนี้เมื่อได้ละทิ้งซึ่งความหวังว่าประโยชน์ของตนเองมีอยู่แก่ข้าพเจ้าแล้วความถูกต้องเหมาะสมก็จักมีขึ้นได้เมื่อไม่ได้พิจารณาอยู่ซึ่งความทุกข์ยากจำนวนมากมายเจ้าจักถูกข้าพเจ้าขายทิ้งเสียแก่คนเหล่าอื่น
  13. หากข้าพเจ้าเป็นผู้มีความเบิกบานยินดีไซร้ข้าพเจ้าจักไม่ให้เจ้าไว้ในสัตว์ทั้งหลาย(แต่)เจ้าซึ่งเป็นผู้ไม่หวาดหวั่นโลเล ย่อมมอบซึ่งข้าพเจ้าไว้ในหมู่ยมทูตคนเฝ่านรกทั้งหลาย(โดยแน่แท้)
  14. อนึ่ง ข้าพเจ้าได้ถูกเจ้ามอบให้(แก่ยมทูต) อย่างนี้แล้วโดยกาลช้านาน จึงมีความทุกข์ทรมานอยู่ตลอดกาลนาน เมื่อได้ระลึกถึงอยู่ซึ่งความพยาบาทเหล่านั้น ข้าพเจ้าจะทำลายเจ้าผู้ตกเป็นทาสแห่งประโยชน์ตนเองเสีย
  15. หากการชื่นชมยินดีมีอยู่แก่เจ้าไซร้เจ้าไม่ควรกระทำซึ่งการชื่นชมยินดีไว้ในตนเอง หากตัวตนเป็นสิ่งที่เจ้าควรรักษาคุ้มครองไว้ไซร้ตัวตนที่เจ้าคุ้มครองรักษาไว้นั้นย่อมไม่สมควรเหมาะสม
  16. บุคคลกระทำอยู่ซึ่งการคุ้มครองซึ่งร่างกายนั้นโดยประการใด เขาย่อมตกไปเป็นคนอ่อนแอมากยิ่งขึ้นโดยประการนั้น ๆ
  17. แม้เมื่อบุคคลได้ตกต่ำลงอย่างนี้แล้ว โลกแม้ทั้งปวงนี้ก็ไม่อาจยังความปรารถนาให้เต็มบริบูรณ์ได้ใครจักทำความปรารถนาของเขานั้น (ให้เต็มบริบูรณ์) ได้เล่า
  18. เมื่อความปรารถนาไม่อาจทำให้สำเร็จได้กิเลสและอุปสรรคขวากหนามแห่งความหวังก็จักเกิดขึ้น แต่หากผู้ใดไม่มีความหวังในที่ทั้งปวง ความเจริญรุ่งเรืองของผู้นั้นก็จักไม่ย่อยยับสูญหาย
  19. เพราะฉะนั้น บุคคลไม่ควรมอบโอกาสให้แก่ความเจริญงอกงามแห่งความปรารถนาของร่างกาย บุคคลไม่ยึดถืออยู่ซึ่งสิ่งใดว่าน่าใคร่น่าปรารถนาสิ่งนั้นย่อมชื่อว่าเป็นสิ่งเจริญรุ่งเรือง
  20. ในที่สุด(ร่างกาย) อันไร้ซึ่งจิตใจนี้ย่อมกลายเป็นเถ้าถ่าน เคลื่อนไหวไปได้เพราะอำนาจอื่น ๆ รูป(ของร่างกายนั้น) เป็นสิ่งไม่สะอาดและน่าขยะแขยงยิ่งนัก เพราะเหตุไรการยึดติดอยู่ในรูปนั้นมีอยู่แก่ข้าพเจ้าด้วยเล่า
  21. ประโยชน์อะไรจักมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเครื่องยนต์ที่มีชีวิตและไร้ชีวิตนั่นเล่าความพิเศษอะไรของร่างกายนั้นย่อมมี(มาก) กว่าสรรพสัตว์ทั้งหลาย มีก้อนดินในโลกเป็นต้น โอ้อหังการ (เพราะเหตุไร) เจ้าจึงไม่ฉิบหายไปเสียเล่า
  22. เพราะความรักยึดมั่นในสรีระ บุคคลจึงประสบอยู่กับความทุกข์โดยไร้ประโยชน์ประโยชน์อะไรด้วยความโกรธและการสรรเสริญ จักมีแก่ร่างกายนั้นซึ่งมีค่าเท่ากับท่อนไม้(ท่อนหนึ่ง ) ด้วยเล่า
  23. ความรักและความโกรธย่อมไม่มีแก่ร่างกายนั้น ทั้งที่ถูกข้าพเจ้าดูแลปกป่องแล้ว และที่ถูกสัตว์ทั้งหลายมีอีกแร้งเป็นต้นจิกกินอยู่แล้ว เพราะเหตุไร ข้าพเจ้าจึงกระทำอยู่ซึ่งความรักในร่างกายนั้นอีกเล่า
  24. ความโกรธของร่างกายใด ย่อมมีเพราะการถูกกล่าวร้าย หรือความสุขชื่นบานของร่างกายใด มีอยู่เพราะการบูชาหากร่างกายนั้นย่อมไม่รู้สึก(ต่อสิ่งใด ๆ แล้ว) ความเพียรพยายามของข้าพเจ้าที่ได้บำเพ็ญมาแล้ว จักมีเพื่อประโยชน์อันใดเล่า
  25. ได้ยินว่าสัตว์เหล่าใดย่อมปรารถนา(รักใคร่) ซึ่งร่างกายนี้ขอสัตว์เหล่านั้นจงเป็นมิตรสหายของข้าพเจ้าเถิด (หากว่า) สัตว์ทั้งปวงย่อมปรารถนา(รักใคร่) ซึ่งร่างกายของตนเองเพราะเหตุไร สัตว์ทั้งปวงนั้นจึงไม่เป็นที่รักของข้าพเจ้าด้วยเล่า
  26. เพราะฉะนั้น ร่างกายจักถูกข้าพเจ้าซึ่งเป็นผู้มิได้ครุ่นคิด(ถึงตัวเอง) สลัดทิ้งเสียแล้วเพื่อความสุขสงบของโลก แม้ว่าโทษอันมากมายจากร่างกายนั้นจะยังคงอยู่เหมือนภาชนะแห่งกรรม ฉะนั้น
  27. การประพฤติอย่างโลกิยวิสัย น่าเพียงพอแล้วกับด้วยร่างกายนั้น เมื่อได้ระลึกถึงถ้อยคำแห่งความไม่ประมาทแล้ว ห้ามอยู่ซึ่งความเข้มแข็งเร่าร้อน และความเกียจคร้าน ข้าพเจ้าจักดำเนินตามบุคคลผู้เป็นบัณฑิตทั้งหลาย
  28. เพราะฉะนั้น เมื่อได้ถอดถอนซึ่งจิตอันมีธรรมชาติคอยควบคุมตนเองออกจากแนวทางอันไม่ถูกต้องแล้ว ข้าพเจ้าจักกระทำซึ่งความสงบตั้งมั่น เพื่อการกำจัดซึ่งอุปสรรคข้อขัดข้อง(ให้สิ้นไปหมดไป) ตลอดกาลนาน

อ้างอิง (Reference)

Audio Source: 
http://www.bodhisvara.com/

Text Source: 

http://www.dsbcproject.org/node/4814

Text Version: 

Devanāgarī

Input Personnel: 

DSBC Staff

Input Date: 

2005

Proof Reader: 

Miroj Shakya

Supplier: 

Nagarjuna Institute of Exact Methods

Sponsor: 

University of the West

อ้างอิง

1. Digital Sanskrit Buddhist Canon, 2013, Bodhicaryāvatāra [Online], Available: http://www.dsbcproject.org[2016, May 26].

2. BODHISVARA, 2013, Śāntideva’s Bodhicaryāvatāra [Online], Available: http://www.bodhisvara.com/[2016, May 26].

3.พระมหาวิชาญ กำเหนิดกลับ, 2549, การศึกษาเชิงวิเคราะห์คัมภีร์โพธิจรรยาวตาร , วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาภาษาสันสกฤต ภาควิชาภาษาตะวันออก มหาวิทยาลัยศิลปากร หน้า ภาคผนวก ข คัมภีร์โพธิจรรยาวตาร ฉบับแปล

อ่านเอกสารตัวเต็มจากสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร
http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/thapra/PhramahaVichan_Kamnerdklab/Fulltext.pdf

เพื่อการศึกษาภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License
แสดงที่มาข้อมูลที่มาของแหล่งเอกสาร-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0  (CC BY-NC-ND 4.0)

Loading

Be the first to comment on "คัมภีร์โพธิจรรยาวตารของศานติเทวะ ปริเฉทที่ ๘"

Leave a comment